วัฏจักรเหล็ก

การลงทุนแบบเน้นคุณค่า ลงทุนหุ้น VI เน้นที่ปัจจัยพื้นฐานเป็นหลัก
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 1

วัฏจักรเหล็ก

โพสต์ที่ 31

โพสต์

Western Australian government   ว่าไว้แบบนี้เมื่อ 8 พค.2008 ..............


WA sees rising iron ore prices till 2011


The Western Australian government expects the iron ore price bonanza to end in 2011/12 as prices for the valuable commodity begin to decline.

State Treasure Eric Ripper said the government expected the benchmark iron ore price to increase by 67 per cent in 2008/09 to $134 per tonne.
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
Reminiscence of 3 Dogs
Verified User
โพสต์: 898
ผู้ติดตาม: 0

วัฏจักรเหล็ก

โพสต์ที่ 32

โพสต์

เสียดายมากๆที่เมืองไทยไม่มีเหมืองแร่เหล็กในตลาดหุ้น
คนกลางน้ำกับปลายน้ำกำไรไม่น่าจะยั่นยืน
bid please!!
sattaya
Verified User
โพสต์: 1372
ผู้ติดตาม: 3

วัฏจักรเหล็ก

โพสต์ที่ 33

โพสต์

[quote="..."][quote="ปรัชญา"]การซื้อเหล็ก
nanchan
Verified User
โพสต์: 2938
ผู้ติดตาม: 1

วัฏจักรเหล็ก

โพสต์ที่ 34

โพสต์

[quote="ปรัชญา"]การซื้อเหล็ก
nanchan
Verified User
โพสต์: 2938
ผู้ติดตาม: 1

วัฏจักรเหล็ก

โพสต์ที่ 35

โพสต์

Pn3um0n1a เขียน:เหล็ก จัดได้อยู่ในกลุ่มวัฏจักร รอบสั้นรึเปล่าครับ?

สามารถ recycle ได้เร็วมาก?

ถ้าใช่ ผมว่า ตอนนี้ น่ากลัวแล้วครับ

ปีหน้า demand จะยังสูงอยู่เหมือนปีนี้รึเปล่า
ส่วน supply ขึ้นเป็นดอกเห็ดรึเปล่า

ปล. รอฟังเลคเชอร์อยู่ครับ
ผมว่าเหล็กที่ทนที่สุดแล้วนะครับ

ถ้าเป็นพวกกลุ่มมอเตอร์ก็ใช้แล้วใช้อีก อย่างมากก็ไปพันไส้ใหม่
ถ้ากลุ่มรถยนต์ผมก็เห็นวิ่งกันเป็น10ปี
ยิ่งถ้าเหล็กก่อสร้างก็หายห่วงเลยครับ ขนาดค่าเสื่อมยังคิดกันที่20ปี
จะมีก็แค่เหล็กกระป๋องมั้งคับ ที่ใช้แล้วทิ้งอะ

ผมว่าเหล็กรีไซเคิลน่าจะหายากขึ้นกว่าเดิมอีก เพราะความต้องการมันผลาญเร็วกว่าของที่จะทิ้ง
nanchan
Verified User
โพสต์: 2938
ผู้ติดตาม: 1

วัฏจักรเหล็ก

โพสต์ที่ 36

โพสต์

หุ้นเหล็กในset เราก็คงได้แค่เก็งกำไรจากสต๊อคเหล็ก
แร่เหล็กในประเทศไม่ใช่ไม่มีนะ
แต่ไม่มีคนสร้างโรงงานถลุงเหล็กซักที
รัฐบาลทำอะไรอยู่ เหล็กแพงแล้วครับ

จะว่าไป ก็มีบริษัทที่เค้ามีสินทรัพย์เป็นเหล็ก และก็มีการบริหารงานมีประสิทธิภาพ

อย่างเหล็กลอยน้ำได้ ก็น่าจะมีdemandที่โตตามเหล็ก และsupplyที่นับวันจะมีปัญหาจากราคาเหล็กแพงขึ้นทุกวัน
PERFECT LUCKY
สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
โพสต์: 795
ผู้ติดตาม: 0

วัฏจักรเหล็ก

โพสต์ที่ 37

โพสต์

ผู้ขายเหล็กบางเจ้า เริ่มแจ้งราคาลงเล็กน้อย บอกว่ามีสินค้าล็อตพิเศษ

อะไรที่ขึ้นมาเร็วมากๆ ขึ้นมามากๆ ก็พึงระวังกันบ้างนะครับ

เต่านั้น อายุยืนและทนในทุกสภาวะ เพราะ รู้จักประมาณตนและ ไม่ประมาท
Miracle Happens Everyday !
"ปาฎิหารย์คือการเดินบนผืนดินและมีความสุขในทุกย่างก้าว" :)
noooon010
Verified User
โพสต์: 2712
ผู้ติดตาม: 2

วัฏจักรเหล็ก

โพสต์ที่ 38

โพสต์

PERFECT LUCKY เขียน:ผู้ขายเหล็กบางเจ้า เริ่มแจ้งราคาลงเล็กน้อย บอกว่ามีสินค้าล็อตพิเศษ

อะไรที่ขึ้นมาเร็วมากๆ ขึ้นมามากๆ ก็พึงระวังกันบ้างนะครับ

เต่านั้น อายุยืนและทนในทุกสภาวะ เพราะ รู้จักประมาณตนและ ไม่ประมาท
ขอบคุณมากๆที่มาเตือนสตินะครับ  :D
อย่าลืมให้เวลากับครอบครัว และสังคมรอบๆข้างของคุณนะครับ

มีสติ และมีความสุขกับการลงทุนนะครับผม


นักลงทุนที่เก่งที่สุดมิใช่คนที่ซื้อขายไวที่สุด
แต่คือคนที่นำสติกลับมาได้เร็วที่สุด
หลายครั้งส่งคำสั่งซื้อทางไปรษณีย์ได้ผลตอบแทนมากกว่าซื้อผ่านnetหากเราขาดสติ
ภาพประจำตัวสมาชิก
san
Verified User
โพสต์: 1675
ผู้ติดตาม: 0

วัฏจักรเหล็ก

โพสต์ที่ 39

โพสต์

ช่วงนี้  มาเก็บเศษเหล็กตุนในโกดังกันดีกว่าครับ
ดีกว่าเอาเงินฝากแบ็งค์ครับ
อิอิอิ
ขอบคุณ รุ่นพี่ๆ รุ่นน้องๆ ครูบา อาจารย์ ในนี้ ที่แนะนำเรื่อง วิธีการลงทุนที่ดี นะครับ
อ. โจ กับ พี่พอใจ ยังเป็นขวัญใจ เสมอครับ
วันนี้ อ. โจ ได้ลง นสพ ด้วย .....อิอิอิ
ภาพประจำตัวสมาชิก
Pn3um0n1a
Verified User
โพสต์: 1935
ผู้ติดตาม: 1

วัฏจักรเหล็ก

โพสต์ที่ 40

โพสต์

nanchan เขียน: ผมว่าเหล็กที่ทนที่สุดแล้วนะครับ

ถ้าเป็นพวกกลุ่มมอเตอร์ก็ใช้แล้วใช้อีก อย่างมากก็ไปพันไส้ใหม่
ถ้ากลุ่มรถยนต์ผมก็เห็นวิ่งกันเป็น10ปี
ยิ่งถ้าเหล็กก่อสร้างก็หายห่วงเลยครับ ขนาดค่าเสื่อมยังคิดกันที่20ปี
จะมีก็แค่เหล็กกระป๋องมั้งคับ ที่ใช้แล้วทิ้งอะ

ผมว่าเหล็กรีไซเคิลน่าจะหายากขึ้นกว่าเดิมอีก เพราะความต้องการมันผลาญเร็วกว่าของที่จะทิ้ง
อืม จริงด้วยแฮะ
:bow:
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 1

วัฏจักรเหล็ก

โพสต์ที่ 41

โพสต์

ภาคอุปสงค์นั้นดูเหมือนว่ายังไม่มีวี่แววว่าจะชะลอตัว ยกตัวอย่างในประเทศตุรกี อู่ต่อเรือแห่งใหม่ที่กำลังอยู่ในระหว่างการก่อสร้าง หากแล้วเสร็จ ก็จะมีความต้องการใช้เหล็กกล้าถึง 100,000 ตันต่อปี ในสหรัฐอเมริกาก็เช่นกัน แม้ขณะนี้เศรษฐกิจกำลังซบเซา แต่ความต้องการใช้เหล็กกล้าก็ยังคงเพิ่มสูงขึ้น ส่วนภาคอุปทาน นายแดเนียล กัง นักวิเคราะห์กลุ่มอุตสาหกรรมโลหะ ธนาคารเอชเอสบีซี ให้ความเห็นว่า ปัจจัยลบมีด้วยกันหลายส่วน เช่น การลดปริมาณการส่งออกเหล็กของจีน ซึ่งเคยเป็นประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่ของโลก เหตุจากจีนเองมีความต้องการใช้เหล็กภายในประเทศเพิ่มขึ้นมาก ดังนั้นจากที่เคยส่งออกถึงปีละ 96 ล้านเมตริกตันเมื่อปี 2550 มาในเดือนกุมภาพันธ์ปีนี้ ปริมาณส่งออกเหล็กของจีนลดเหลือเพียงประมาณ 38 ล้านเมตริกตัน "เชื่อว่าปริมาณส่งออกต่อปีของจีนที่หายไปจากตลาดโลกเกือบ 50 ล้านเมตริกตันก่อให้เกิดภาวะขาดแคลนขึ้นในตลาด โดยเฉพาะตลาดประเทศกำลังพัฒนา"
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
boy2t
Verified User
โพสต์: 243
ผู้ติดตาม: 0

วัฏจักรเหล็ก

โพสต์ที่ 42

โพสต์

ตอนแรกนึกว่าราคาน่าจะนิ่ง ดูท่าว่าเมืองจีน กับ พม่า โดนเข้าไปแบบนี้ สงสัยความต้องการยังมีอีกมาก คิดไม่ออกเลยว่าจะเป็นไงต่อ
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 1

วัฏจักรเหล็ก

โพสต์ที่ 43

โพสต์

Iron ore price rise could force China steel rationalization

BEIJING, Feb. 26 (Xinhua) -- China imports almost half of the world's seaborne iron ore, making it the largest iron ore consumer in the world, but it has become a price-taker for this basic input for steel -- perhaps because it waited too long to negotiate with major suppliers.

   Analysts said that this situation could have been anticipated, because iron ore was in such demand globally, but they added that higher costs might actually help rationalize the Chinese steel industry by pricing some smaller firms with obsolete technology out of business.

   After Brazilian mining conglomerate Vale hammered out 2008 benchmark prices for iron ore fines with Japanese and Republic of Korea (ROK) steel makers last week, Baosteel Group, China's largest steel maker, agreed on the price for fiscal 2008, accepting the Brazilian miner's price hikes that ranged from 65 percent to 71 percent compared with 2007.

   That's how benchmark pricing generally works for the international iron ore market: one group of buyers accepts a new range of prices, which then become the norm for the global industry.

   Last year, it was Baosteel that set the benchmark with Vale. This year, other East Asian steel makers were eager to make a deal quickly, at least partly because some iron ore sellers started talking about 'more flexible' terms, meaning quarterly or even monthly re-pricing.

   SOARING SPOT PRICES COMPLICATE BARGAINING

   China's steel needs have soared, driven by rapid urbanization and many large infrastructure projects. China imports almost half of the world's seaborne iron ore, making it the largest iron ore consumer in the world. According to the China Iron and Steel Association (CISA), world iron ore seaborne trade in 2007 amounted to 805 million tons, of which 383 million were shipped to China, up 17.4 percent year-on-year.

   Since China joined the international pricing negotiations in 2004, the price has risen every year. Price negotiations for 2004 ended with an 18.62 percent increase, followed by a 71.5 percent rise in 2005 and a 19 percent increase in 2006.

   In 2006, China was the world's first major steel producer to settle with three mining firms -- Vale, Rio Tinto and BHP Billiton-- agreeing to a relatively modest hike of 9.5 percent for the year starting April 2007. That was the smallest price rise in the years since China joined the world price negotiations.

   This time around, however, Chinese steel makers lost the opportunity to set the benchmark. Japanese steel makers reportedly rushed to wrap up the talks before the Chinese, according to media reports.

   "The situation is tougher, as spot prices soared to a record high in 2007," said Hu Kai, a senior analyst with the Chinese Umetal.com website.

   Hu said that the gap between term prices and spot prices of iron ore in 2006 wasn't as wide as in 2007, resulting in a relatively modest price hike. Steel makers were satisfied with the outcome, although iron ore producers considered it unfair.

   Soaring spot prices in 2007 changed the equation and pushed up the term prices for 2008.

   With demand for iron ore soaring, global miners' production has surged. Vale boosted its 2007 iron ore production by 12 percent, for example, and Rio Tinto turned out 9 percent more ore.

   Steel makers' profits also set a record high in 2007, increasing by 30 percent year-on-year, and mining companies wanted to share the wealth.

   BAOSTEEL FACED A CHALLENGE

   Baosteel, the partly state-owned representative of China's steel makers in the pricing negotiations, faced a challenge. The miners were holding out for higher prices, while other major Chinese steel producers wanted a favorable pact. Given the huge share of the market that China represents, Baosteel may have believed it had more bargaining power than it did. CISA estimated the 2008 price rise at only 20 percent.

   So Baosteel waited -- but others negotiated.

   "Even if Baosteel had concluded negotiations first, the price hike would not be lower," said Hu.

   Australian mining companies were pushing for a change in the pricing system, which impelled Japanese and ROK steel producers to conclude the negotiations. Australia's Rio Tinto and BHP Billiton have sought a new benchmark pricing system that would be more "flexible," featuring prices that would be set quarterly or monthly.

   The Japanese and ROK steel makers were eager to avoid such a change, which would mean more volatility and most likely higher prices for ore. They settled quickly, leaving China to accept the outcome.

   HIGHER PRICES TO HAVE VARIED IMPACT

   The China Securities Journal reported on Monday that 57 domestic steel mills had raised their prices after the benchmark price was settled. And on Tuesday, the newspaper reported that Baosteel had raised steel prices for the second quarter of 2008. Its prices for major cold- and hot-rolled products will rise 800 yuan (111 U.S. dollars) per ton in the second quarter, compared with the first quarter, Tuesday's China Securities Journal quoted an announcement by Baosteel as saying.

   Considering that Baosteel has a heavier reliance on imported iron ore than other domestic competitors, a 65-percent iron ore price rise could translate into cost mark-up of 258 yuan for Baosteel, as against 116 yuan for other domestic steel makers, according to statistics from Chemease, a business information provider on Chinese chemical commodity markets.

   But a price hike of up to 800 yuan would offset its cost mark-up and also provide ample profit margins, said Chemease analysts.
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
LOSO
Verified User
โพสต์: 2512
ผู้ติดตาม: 1

วัฏจักรเหล็ก

โพสต์ที่ 44

โพสต์

China may agree 85% iron ore price rise

May 6, 2008 - 10:41PM


China may concede to Australian demands to include a freight premium in iron ore price negotiations that could boost this year's price rise to 85 per cent, industry sources and a media report says.

There is a strong view within the Chinese industry that miners will achieve the 85 per cent increase, exceeding a 65 per cent rise already agreed with a key Brazilian miner, The Australian Financial Review reported, citing an unidentified senior source at a leading iron ore trader in China.

The report said this was because Chinese steel mills were paying much higher prices on the spot market than the existing benchmark price.

Industry sources in China added that the steel sector's brisk demand for raw materials also supported expectations that they would agree to the freight premium.

"Australian miners have been very tough during the negotiations, because it is very obvious that Chinese mills are eager to obtain more iron ore supplies to support the growing steel sector," said an executive with a leading state-owned metals trading house.
ความพยายามไม่มี    ปัญญาไม่เกิด
ภาพประจำตัวสมาชิก
ply33
Verified User
โพสต์: 592
ผู้ติดตาม: 1

วัฏจักรเหล็ก

โพสต์ที่ 45

โพสต์

nanchan เขียน:หุ้นเหล็กในset เราก็คงได้แค่เก็งกำไรจากสต๊อคเหล็ก
แร่เหล็กในประเทศไม่ใช่ไม่มีนะ
แต่ไม่มีคนสร้างโรงงานถลุงเหล็กซักที
รัฐบาลทำอะไรอยู่ เหล็กแพงแล้วครับ
เห็น SSI บอกว่าจะสร้างโรงงานถลุงเหล็กนี่ครับ แต่โดนต่อต้านเรื่องสิ่งแวดล้อม ที่ประจวบ

ลองไปอ่าน Research ใน Settrade ดูครับ สรุปได้ว่า
- ที่กำไรกระชูดเพราะ Inventory เดิมต้นทุนต่ำแต่กำลังจะหมดใน Q2 นี้
- และกำไรส่วนหนึ่งมาจาก อัตราแลกเปลี่ยนครับ
- World Demand and Supply จะตึงตัวต่อไปจากความต้องการที่เพิ่มขึ้นทั้ง BRIC and Middle East (ME) ครับ
- ถ้าติดตามข่าวจะพบว่ากระทรวงพาณิชย์ยังตรึงราคาในประเทศอยู่ แต่ผู้ประกอบการขอขึ้นราคาไปแล้วครับ ก็ต้องดูกันว่าใครอึดกว่าใคร

ความเห็นผมส่วนตัวครับ
- เมื่อต้องนำเข้าด้วยต้นทุนที่สูงขึ้น ก็จะได้ Margin แบบปกติไม่มีกำไรกระฉูดแบบนี้อีกครับ
- ถ้าราคายังสูงขึ้นเรื่อยๆก็จะเป็นวัฏจักรขาขึ้นได้เพราะซื้อถูกมา ราคาขายก็ยังแพงขึ้นอีกได้ แต่ถ้ามันกลับกันล่ะ ... ก็อ่วมเหมือนกันครับ
- ราคา Commodity ที่สูงขึ้นจากพลังงาน น้ำมัน ถ่านหิน ลามมายังเหล็ก ส่วนนึงผมคิดว่าเพราะค่าเงิน USD ที่อ่อนลงมากจากปัญหาเศรษฐกิจในสหรัฐ ถ้าเชื่อตามที่หลายๆคนบอกว่าวิกฤตสหรัฐผ่านจุดต่ำสุดไปแล้ว ค่าเงินUSD ก็น่าจะแข็งขึ้นและเป็นส่วนช่วยให้ราคา Commodity ต่างๆลดลงได้บ้างครับ
-ในอนาคตอันใกล้ น่าจะเห็นการ M&A บริษัทเหล็กกันอีกแน่นอนครับ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
0--- ฉลามเสือดาว ล่องลอยไปในทะเลกว้างใหญ่ ---0