รวมข่าว ปั่นหุ้น
- ปรัชญา
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 18252
- ผู้ติดตาม: 43
รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 1
ก.ล.ต.สั่งปรับ"ลีสวัสดิ์ตระกูล" ปั่นหุ้น RICH
วันพุธ, 22 มกราคม 2557 17:15
ก.ล.ต.เปรียบเทียบปรับ "ลีสวัสดิ์ตระกูล" กรณีร่วมกันสร้างราคาหุ้น RICH
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดเผยกรณีคณะกรรมการเปรียบเทียบปรับมีคำสั่งเปรียบเทียบปรับ นายสมเดช ลีสวัสดิ์ตระกูล 25,665,197.13 บาท กรณีสร้างราคาหลักทรัพย์ของบมจ.ริช เอเชีย สตีล (RICH) และนายสิทธิชัย ลีสวัสดิ์ตระกูล นางลัดดา ลีสวัสดิ์ตระกูล และนางสาวอุษณีย์ อ่อนจ้าย ผู้สนับสนุน รายละ 333,333.33 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 26,665,197.12 บาท
ก.ล.ต.ได้รับแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่า ตรวจสอบพบสภาพการซื้อขายหุ้น RICH ที่ผิดปกติอันเนื่องมาจากการซื้อขายของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งจากการตรวจสอบของ ก.ล.ต.พบว่าปริมาณและราคาซื้อขายหุ้น RICH ระหว่างวันที่ 10 พฤษภาคม ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2550 เปลี่ยนแปลงไปอันไม่ตรงต่อสภาพปกติของตลาด เกิดจากนายสมเดชรู้เห็นหรือตกลงร่วมกับตัวการรายอื่นซื้อขายหุ้น RICH ในลักษณะสอดคล้องและแบ่งหน้าที่กันทำการซื้อขายหุ้น RICH ผ่านบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของบุคคลที่มีความสัมพันธ์ในด้านต่างๆ กับตัวการรวม 15 ราย จนทำให้เกิดผลกระทบทั้งด้านราคาและปริมาณในสัดส่วนที่สูง รวมทั้งมีการจับคู่ซื้อขายกันภายในกลุ่มจำนวนมาก เพื่อชักจูงให้บุคคลทั่วไปทำการซื้อขายหุ้นดังกล่าว โดยนายสิทธิชัย นางลัดดา และนางสาวอุษณีย์ ให้การช่วยเหลือในการให้ใช้บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์เพื่อกระทำความผิด
นอกจากนี้ นายสิทธิชัยยังอำนวยความสะดวกด้วยการส่งคำสั่งซื้อขายหุ้น ส่วนนางลัดดาและนางสาวอุษณีย์ ได้อำนวยความสะดวกด้วยการถอนเงินหลักประกันหรือค่าซื้อขายหุ้น RICH การกระทำของนายสมเดชเข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243(1) ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243(2) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ประกอบมาตรา 83 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบนายสมเดช
เป็นเงิน 25,665,197.13 บาท ส่วนการกระทำข้างต้นของนายสิทธิชัย นางลัดดา และนางสาวอุษณีย์ เข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243(1) ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243(2) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ ประกอบมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายอาญา คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบนายสิทธิชัย นางลัดดา และนางสาวอุษณีย์ เป็นเงินรายละ 333,333.33 บาท
http://www.moneychannel.co.th/index.php ... caq76.html
วันพุธ, 22 มกราคม 2557 17:15
ก.ล.ต.เปรียบเทียบปรับ "ลีสวัสดิ์ตระกูล" กรณีร่วมกันสร้างราคาหุ้น RICH
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดเผยกรณีคณะกรรมการเปรียบเทียบปรับมีคำสั่งเปรียบเทียบปรับ นายสมเดช ลีสวัสดิ์ตระกูล 25,665,197.13 บาท กรณีสร้างราคาหลักทรัพย์ของบมจ.ริช เอเชีย สตีล (RICH) และนายสิทธิชัย ลีสวัสดิ์ตระกูล นางลัดดา ลีสวัสดิ์ตระกูล และนางสาวอุษณีย์ อ่อนจ้าย ผู้สนับสนุน รายละ 333,333.33 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 26,665,197.12 บาท
ก.ล.ต.ได้รับแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่า ตรวจสอบพบสภาพการซื้อขายหุ้น RICH ที่ผิดปกติอันเนื่องมาจากการซื้อขายของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งจากการตรวจสอบของ ก.ล.ต.พบว่าปริมาณและราคาซื้อขายหุ้น RICH ระหว่างวันที่ 10 พฤษภาคม ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2550 เปลี่ยนแปลงไปอันไม่ตรงต่อสภาพปกติของตลาด เกิดจากนายสมเดชรู้เห็นหรือตกลงร่วมกับตัวการรายอื่นซื้อขายหุ้น RICH ในลักษณะสอดคล้องและแบ่งหน้าที่กันทำการซื้อขายหุ้น RICH ผ่านบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของบุคคลที่มีความสัมพันธ์ในด้านต่างๆ กับตัวการรวม 15 ราย จนทำให้เกิดผลกระทบทั้งด้านราคาและปริมาณในสัดส่วนที่สูง รวมทั้งมีการจับคู่ซื้อขายกันภายในกลุ่มจำนวนมาก เพื่อชักจูงให้บุคคลทั่วไปทำการซื้อขายหุ้นดังกล่าว โดยนายสิทธิชัย นางลัดดา และนางสาวอุษณีย์ ให้การช่วยเหลือในการให้ใช้บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์เพื่อกระทำความผิด
นอกจากนี้ นายสิทธิชัยยังอำนวยความสะดวกด้วยการส่งคำสั่งซื้อขายหุ้น ส่วนนางลัดดาและนางสาวอุษณีย์ ได้อำนวยความสะดวกด้วยการถอนเงินหลักประกันหรือค่าซื้อขายหุ้น RICH การกระทำของนายสมเดชเข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243(1) ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243(2) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ประกอบมาตรา 83 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบนายสมเดช
เป็นเงิน 25,665,197.13 บาท ส่วนการกระทำข้างต้นของนายสิทธิชัย นางลัดดา และนางสาวอุษณีย์ เข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243(1) ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243(2) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ ประกอบมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายอาญา คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบนายสิทธิชัย นางลัดดา และนางสาวอุษณีย์ เป็นเงินรายละ 333,333.33 บาท
http://www.moneychannel.co.th/index.php ... caq76.html
-
- Verified User
- โพสต์: 1679
- ผู้ติดตาม: 0
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 2
ขอบคุณครับน่าจะเป็นประมาณ 0.0000001% ของที่โดนจับ เหลือต้องจับมาลงโทษอีก 99.999999%
แต่ก็เก่งและน่ายินดีมากครับที่ไม่ปล่อยให้พวกนี้ลอยนวล
แต่ก็เก่งและน่ายินดีมากครับที่ไม่ปล่อยให้พวกนี้ลอยนวล
value trap
- anubist
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 1374
- ผู้ติดตาม: 8
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 3
คุณหมูแห่งมิลล์คอนสตีล เอากับเค้าด้วยเหรอเนี่ยปรัชญา เขียน:ก.ล.ต.สั่งปรับ"ลีสวัสดิ์ตระกูล" ปั่นหุ้น RICH
วันพุธ, 22 มกราคม 2557 17:15
ก.ล.ต.เปรียบเทียบปรับ "ลีสวัสดิ์ตระกูล" กรณีร่วมกันสร้างราคาหุ้น RICH
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดเผยกรณีคณะกรรมการเปรียบเทียบปรับมีคำสั่งเปรียบเทียบปรับ นายสมเดช ลีสวัสดิ์ตระกูล 25,665,197.13 บาท กรณีสร้างราคาหลักทรัพย์ของบมจ.ริช เอเชีย สตีล (RICH) และนายสิทธิชัย ลีสวัสดิ์ตระกูล นางลัดดา ลีสวัสดิ์ตระกูล และนางสาวอุษณีย์ อ่อนจ้าย ผู้สนับสนุน รายละ 333,333.33 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 26,665,197.12 บาท
ก.ล.ต.ได้รับแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่า ตรวจสอบพบสภาพการซื้อขายหุ้น RICH ที่ผิดปกติอันเนื่องมาจากการซื้อขายของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งจากการตรวจสอบของ ก.ล.ต.พบว่าปริมาณและราคาซื้อขายหุ้น RICH ระหว่างวันที่ 10 พฤษภาคม ถึงวันที่ 31 กรกฎาคม 2550 เปลี่ยนแปลงไปอันไม่ตรงต่อสภาพปกติของตลาด เกิดจากนายสมเดชรู้เห็นหรือตกลงร่วมกับตัวการรายอื่นซื้อขายหุ้น RICH ในลักษณะสอดคล้องและแบ่งหน้าที่กันทำการซื้อขายหุ้น RICH ผ่านบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของบุคคลที่มีความสัมพันธ์ในด้านต่างๆ กับตัวการรวม 15 ราย จนทำให้เกิดผลกระทบทั้งด้านราคาและปริมาณในสัดส่วนที่สูง รวมทั้งมีการจับคู่ซื้อขายกันภายในกลุ่มจำนวนมาก เพื่อชักจูงให้บุคคลทั่วไปทำการซื้อขายหุ้นดังกล่าว โดยนายสิทธิชัย นางลัดดา และนางสาวอุษณีย์ ให้การช่วยเหลือในการให้ใช้บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์เพื่อกระทำความผิด
นอกจากนี้ นายสิทธิชัยยังอำนวยความสะดวกด้วยการส่งคำสั่งซื้อขายหุ้น ส่วนนางลัดดาและนางสาวอุษณีย์ ได้อำนวยความสะดวกด้วยการถอนเงินหลักประกันหรือค่าซื้อขายหุ้น RICH การกระทำของนายสมเดชเข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243(1) ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243(2) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ประกอบมาตรา 83 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบนายสมเดช
เป็นเงิน 25,665,197.13 บาท ส่วนการกระทำข้างต้นของนายสิทธิชัย นางลัดดา และนางสาวอุษณีย์ เข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243(1) ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243(2) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ ประกอบมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายอาญา คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบนายสิทธิชัย นางลัดดา และนางสาวอุษณีย์ เป็นเงินรายละ 333,333.33 บาท
http://www.moneychannel.co.th/index.php ... caq76.html
เห็นบอกว่าแยกกันทำธุรกิจกับกลุ่มลีสวัสดิ์ตระกูล
นึกว่าจะลบล้างเสียงลือเสียงเล่าอ้างจากกระทู้ในตำนานออกไปได้
คุณหมูกลับทำให้มันเป็นจริงขึ้นมาซะเอง ผิดหวังจริงๆครับ
ทุนน้อยและหลุดดอยแล้ว เย้ๆ
- ปรัชญา
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 18252
- ผู้ติดตาม: 43
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 4
การเงิน - การลงทุน
วันที่ 2 พฤศจิกายน 2555
ศาลสั่งจำคุกนักลงทุนรายใหญ่ปั่นหุ้น
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
ศาลอาญาพิพากษาจำคุก นักลงทุนรายใหญ่ "นายสง่า สกุลเอกไพศาล" 2 ปี
ข้อหาสร้างราคาหุ้น 3 บริษัท "โฟคัส-อินเตอร์ ฟาร์อีส-โรแยล ซีรามิค"
สำนักงานกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ แจ้งว่าเมื่อวันที่ 31 ต.ค.ที่ผ่านมา ศาลอาญามีคำพิพากษาลงโทษผู้กระทำผิดกรณีสร้างราคาหลักทรัพย์จำนวน 2 ราย เนื่องจากกระทำความผิดมาตรา 243(1) (2) ประกอบมาตรา 244 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 ได้แก่ นายสง่า สกุลเอกไพศาล หรือ"เฮียตี๋" เดิมชื่อนายจักรชัย หรือนายธน แซ่เจียม กรณีซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านบัญชีของบุคคลอื่นในลักษณะสร้างราคาหลักทรัพย์ บริษัท โฟคัส ดีเวลลอปเม้นท์ แอนด์ คอนสตรัคชั่น หรือ FOCUS ระหว่างวันที่ 24-25 เม.ย.2551 หลักทรัพย์ บริษัทอินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ หรือ IFEC เมื่อวันที่ 29 เม.ย.2551 และหลักทรัพย์บริษัทโรแยล ซีรามิค อุตสาหกรรม หรือRCI เมื่อวันที่ 2 พ.ค.2551 รวมความผิด 3 กระทง จำคุกกระทงละ 1 ปี รวมจำคุก 3 ปี
นอกจากนี้ศาลอาญามีคำพิพากษาลงโทษ นายสง่ากรณีปลอมลายมือชื่อของบุคคลอื่นในเอกสารการเปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์กับบริษัทหลักทรัพย์ (บล.) เพื่อใช้ในการซื้อขายหลักทรัพย์ข้างต้นจำคุก 1 ปี รวมความผิดทั้งสองกรณีจำคุก 4 ปี แต่เนื่องจากนายสง่าให้การรับสารภาพจึงลดโทษกึ่งหนึ่ง เหลือจำคุก 2 ปี และนางสาวไพลิน กุมุท กรณีร่วมกับนายสง่ากระทำผิดกรณีสร้างราคาหลักทรัพย์ FOCUS เป็นความผิด 1 กระทง จำคุก 1 ปี และปรับ 500,000 บาท แต่เนื่องจากนางสาวไพลินให้การรับสารภาพ จึงลดโทษกึ่งหนึ่ง เหลือจำคุก 6 เดือน โดยรอลงอาญา 2 ปี และปรับ 250,000 บาท
ขณะที่ในคดีเดียวกันนี้ สำนักงานก.ล.ต. แจ้งว่า ศาลได้มีคำพิพากษายกฟ้องนางสาวนงลักษณ์ สินประเสริฐเลิศ และนายอดิเรก อุ่มบางตลาด ซึ่งในขณะเกิดเหตุเป็นผู้ติดต่อกับผู้ลงทุน บล.กิมเอ็ง (ประเทศไทย) สาขาชลบุรี และบล.เมอร์ชั่น พาร์ทเนอร์ ซึ่งถูกฟ้องเป็นจำเลยในข้อกล่าวหาสนับสนุนนายสง่าในการกระทำความผิดข้างต้น เนื่องจากยังไม่ปรากฏข้อเท็จจริงที่ชัดเจนเพียงพอว่ามีการกระทำอันเป็นการสนับสนุนตามข้อกล่าวหา
คดีนี้สืบเนื่องจากเมื่อวันที่ 28 ธ.ค.2553 ก.ล.ต.ได้กล่าวโทษนายสง่า กรณีสร้างราคาหุ้นโฟคัส อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ และโรแยล ซีรามิค รวมทั้งนางสาวนงลักษณ์และนายอดิเรก กรณีให้การช่วยเหลือและสนับสนุนนายสง่า โดยจัดหาบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ ส่งคำสั่งซื้อขายหลักทรัพย์ และช่วยเหลือในการทำธุรกรรมทางการเงิน ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายหลักทรัพย์ต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) โดยดีเอสไอและพนักงานอัยการคดีพิเศษมีความเห็นสั่งฟ้องบุคคลทั้งสามราย ซึ่งกรณีนายสง่าได้เพิ่มเติมความผิดกรณีปลอมเอกสาร และใช้เอกสารปลอม เนื่องจากพบพยานหลักฐานว่า นายสง่าได้ปลอมลายมือชื่อของบุคคลอื่นในเอกสารใบคำขอเปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ บัตรตัวอย่างลายมือชื่อ สัญญาแต่งตั้งตัวแทนและหรือนายหน้าเพื่อซื้อขายหลักทรัพย์ของบล.ฟาร์อีสท์
นอกจากนี้ได้มีความเห็นสั่งฟ้องนางสาวไพลินเพิ่มเติมด้วย เนื่องจากพบพยานหลักฐานว่า นางสาวไพลินได้ร่วมกระทำความผิดกับนายสง่า โดยทำการซื้อขายหลักทรัพย์โฟคัส ในลักษณะการสร้างราคา
"การดำเนินคดีนี้เป็นผลสำเร็จเกิดจากการประสานความร่วมมือและปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพของบุคลากรเจ้าของสำนวนคดี ได้แก่ พนักงานสอบสวน สำนักคดีการเงินการธนาคาร กรมสอบสวนคดีพิเศษ และพนักงานอัยการ สำนักงานคดีพิเศษ สำนักงานอัยการสูงสุด"
ข้อมูลที่มา ขอขอบคุณ หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
http://www.bangkokbiznews.com/home/deta ... B8%99.html
วันที่ 2 พฤศจิกายน 2555
ศาลสั่งจำคุกนักลงทุนรายใหญ่ปั่นหุ้น
โดย : กรุงเทพธุรกิจออนไลน์
ศาลอาญาพิพากษาจำคุก นักลงทุนรายใหญ่ "นายสง่า สกุลเอกไพศาล" 2 ปี
ข้อหาสร้างราคาหุ้น 3 บริษัท "โฟคัส-อินเตอร์ ฟาร์อีส-โรแยล ซีรามิค"
สำนักงานกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ แจ้งว่าเมื่อวันที่ 31 ต.ค.ที่ผ่านมา ศาลอาญามีคำพิพากษาลงโทษผู้กระทำผิดกรณีสร้างราคาหลักทรัพย์จำนวน 2 ราย เนื่องจากกระทำความผิดมาตรา 243(1) (2) ประกอบมาตรา 244 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 ได้แก่ นายสง่า สกุลเอกไพศาล หรือ"เฮียตี๋" เดิมชื่อนายจักรชัย หรือนายธน แซ่เจียม กรณีซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านบัญชีของบุคคลอื่นในลักษณะสร้างราคาหลักทรัพย์ บริษัท โฟคัส ดีเวลลอปเม้นท์ แอนด์ คอนสตรัคชั่น หรือ FOCUS ระหว่างวันที่ 24-25 เม.ย.2551 หลักทรัพย์ บริษัทอินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ หรือ IFEC เมื่อวันที่ 29 เม.ย.2551 และหลักทรัพย์บริษัทโรแยล ซีรามิค อุตสาหกรรม หรือRCI เมื่อวันที่ 2 พ.ค.2551 รวมความผิด 3 กระทง จำคุกกระทงละ 1 ปี รวมจำคุก 3 ปี
นอกจากนี้ศาลอาญามีคำพิพากษาลงโทษ นายสง่ากรณีปลอมลายมือชื่อของบุคคลอื่นในเอกสารการเปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์กับบริษัทหลักทรัพย์ (บล.) เพื่อใช้ในการซื้อขายหลักทรัพย์ข้างต้นจำคุก 1 ปี รวมความผิดทั้งสองกรณีจำคุก 4 ปี แต่เนื่องจากนายสง่าให้การรับสารภาพจึงลดโทษกึ่งหนึ่ง เหลือจำคุก 2 ปี และนางสาวไพลิน กุมุท กรณีร่วมกับนายสง่ากระทำผิดกรณีสร้างราคาหลักทรัพย์ FOCUS เป็นความผิด 1 กระทง จำคุก 1 ปี และปรับ 500,000 บาท แต่เนื่องจากนางสาวไพลินให้การรับสารภาพ จึงลดโทษกึ่งหนึ่ง เหลือจำคุก 6 เดือน โดยรอลงอาญา 2 ปี และปรับ 250,000 บาท
ขณะที่ในคดีเดียวกันนี้ สำนักงานก.ล.ต. แจ้งว่า ศาลได้มีคำพิพากษายกฟ้องนางสาวนงลักษณ์ สินประเสริฐเลิศ และนายอดิเรก อุ่มบางตลาด ซึ่งในขณะเกิดเหตุเป็นผู้ติดต่อกับผู้ลงทุน บล.กิมเอ็ง (ประเทศไทย) สาขาชลบุรี และบล.เมอร์ชั่น พาร์ทเนอร์ ซึ่งถูกฟ้องเป็นจำเลยในข้อกล่าวหาสนับสนุนนายสง่าในการกระทำความผิดข้างต้น เนื่องจากยังไม่ปรากฏข้อเท็จจริงที่ชัดเจนเพียงพอว่ามีการกระทำอันเป็นการสนับสนุนตามข้อกล่าวหา
คดีนี้สืบเนื่องจากเมื่อวันที่ 28 ธ.ค.2553 ก.ล.ต.ได้กล่าวโทษนายสง่า กรณีสร้างราคาหุ้นโฟคัส อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ และโรแยล ซีรามิค รวมทั้งนางสาวนงลักษณ์และนายอดิเรก กรณีให้การช่วยเหลือและสนับสนุนนายสง่า โดยจัดหาบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ ส่งคำสั่งซื้อขายหลักทรัพย์ และช่วยเหลือในการทำธุรกรรมทางการเงิน ที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายหลักทรัพย์ต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) โดยดีเอสไอและพนักงานอัยการคดีพิเศษมีความเห็นสั่งฟ้องบุคคลทั้งสามราย ซึ่งกรณีนายสง่าได้เพิ่มเติมความผิดกรณีปลอมเอกสาร และใช้เอกสารปลอม เนื่องจากพบพยานหลักฐานว่า นายสง่าได้ปลอมลายมือชื่อของบุคคลอื่นในเอกสารใบคำขอเปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ บัตรตัวอย่างลายมือชื่อ สัญญาแต่งตั้งตัวแทนและหรือนายหน้าเพื่อซื้อขายหลักทรัพย์ของบล.ฟาร์อีสท์
นอกจากนี้ได้มีความเห็นสั่งฟ้องนางสาวไพลินเพิ่มเติมด้วย เนื่องจากพบพยานหลักฐานว่า นางสาวไพลินได้ร่วมกระทำความผิดกับนายสง่า โดยทำการซื้อขายหลักทรัพย์โฟคัส ในลักษณะการสร้างราคา
"การดำเนินคดีนี้เป็นผลสำเร็จเกิดจากการประสานความร่วมมือและปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพของบุคลากรเจ้าของสำนวนคดี ได้แก่ พนักงานสอบสวน สำนักคดีการเงินการธนาคาร กรมสอบสวนคดีพิเศษ และพนักงานอัยการ สำนักงานคดีพิเศษ สำนักงานอัยการสูงสุด"
ข้อมูลที่มา ขอขอบคุณ หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ
http://www.bangkokbiznews.com/home/deta ... B8%99.html
- ปรัชญา
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 18252
- ผู้ติดตาม: 43
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 5
[youtube]pMByHCH81os[/youtube]
ก.ล.ต.ฟ้อง "ฉาย" และพวก 15 คน รวมหัว "ปั่นหุ้น" หลอกแมลงเม่าบินเข้ากองไฟ
ควรจะโดนเป็นเยี่ยงอย่าง!!! หลังงมอยู่หลายพัก ในที่สุด ก.ล.ต. สั่งกล่าวโทษ
นายฉาย บุนนาค กับพวกรวม 15 คน ต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ หลังพบรวมหัว “ปั่นหุ้น”
ในตลาด 12 หุ้นรวด ตั้งแต่ปี 51-53 หลอกแมลงเม่าเข้าซื้อ
ด้าน “กมล” รับผิดโดยดี ดอดเสียค่าปรับก่อนใคร 5 แสนบาท ยุติคดี
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)
เปิดเผยว่าก.ล.ต.ได้กล่าวโทษนายฉาย บุนนาค กับพวกรวม 15 ราย ต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ)
เมื่อวันที่ 8 พ.ค.ที่ผ่านมา กรณีเป็นผู้สั่งการและผู้สนับสนุนในการสร้างราคาหลักทรัพย์ 12 หลักทรัพย์
ระหว่างปี 51-53 โดย ก.ล.ต. ได้รับแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์ ว่า พบสภาพการซื้อขายหลักทรัพย์ที่ผิดปกติ
12 หลักทรัพย์ และพบพยานหลักฐานที่น่าเชื่อได้ว่า นายฉายและพวกได้สั่งซื้อขายหลักทรัพย์
ผ่านบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของบุคคลต่างๆ จำนวนมาก
โดยมีพฤติกรรมอำพราง เข้าไปส่งคำสั่งซื้อขายในปริมาณมากหลายระดับราคา
มีการเสนอซื้อและเสนอขายเพื่อผลักดันราคา จับคู่ซื้อขายกันเองภายในกลุ่ม
กระตุ้นการซื้อขายด้วยการทยอยส่งคำสั่งซื้อด้วยจำนวนย่อยๆ ที่ระดับราคาเดียวกันหลายรายการ
ตลอดจนพยุงราคาหลักทรัพย์ เพื่อให้บุคคลทั่วไปหลงผิดไปว่าหลักทรัพย์นั้นมีการซื้อขายกันมาก
หรือราคาเปลี่ยนแปลง โดยเป็นการซื้อขายในลักษณะต่อเนื่อง ส่งผลให้การซื้อหรือขายหลักทรัพย์นั้น
ผิดไปจากสภาพปกติของตลาด
โดยการกระทำของนายฉาย เข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243 (1) (2) และมาตรา 244
แห่ง พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และมาตรา 83 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
ส่วนบุคคลอื่นที่เป็นตัวการร่วมหรือผู้สนับสนุนการสร้างราคา เข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243 (1) (2)
และมาตรา 244 แห่ง พ.ร.บ.หลักทรัพย์ฯ และมาตรา 83 หรือ 86 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
ทั้งนี้จากพยานหลักฐานพบว่า ในช่วงระหว่างปี 51-53 นายฉายได้ซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านบัญชีตนเองและบุคคลต่างๆ
อันเข้าข่ายการสร้างราคารวม 12 หลักทรัพย์
1. หุ้นบริษัททรัพย์ศรีไทย คลังสินค้า จำกัด (มหาชน) ปัจจุบันชื่อบริษัททรัพย์ศรีไทย จำกัด (มหาชน) หรือ SST
2.หุ้นบริษัทซันไชน์ คอร์เปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ “SSE” ปัจจุบัน ชื่อบริษัทอควา คอร์เปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
3.ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทซันไชน์ (SSE-W1)
4.หุ้นบริษัทไทยบริการอุตสาหกรรมและวิศวกรรม จำกัด (มหาชน) หรือ TIES
5.หุ้นบริษัทสตาร์ ซานิทารีแวร์ จำกัด (มหาชน) หรือ STAR
6.ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญบริษัทอินเตอร์เนชั่นแนล รีเสริช คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ IRCP-W1
7.หุ้นบริษัทไซแมท เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) หรือ SIMAT
8. ใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญบริษัทสตาร์ หรือ STAR-W
9.หุ้นบริษัทอะโกร อินดัสเตรียล แมชชีนเนอรี่ จำกัด (มหาชน) หรือ AMAC
ปัจจุบันชื่อบริษัทแมกซ์ เมทัล คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
10.หุ้นบริษัทไมด้า-เมดดาลิสท์ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) หรือ MME
11.ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญบริษัทไมด้า-เมดดาลิสท์ หรือ MME-W1
12. หุ้นบริษัทไลท์ติ้ง แอนด์ อีควิปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) หรือ L&E
โดย ก.ล.ต. มีหลักฐานน่าเชื่อว่า มีบุคคลอื่นที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการซื้อขายหลักทรัพย์ ดังนี้
1.นายปฐมัน บูรณะสิน ในการสร้างราคาหุ้น IRCP-W1, SIMAT, STAR-W, AMAC, MME, MME-W1 และ L&E
2. นายสุพิชยะ ฉายเหมือนวงศ์ หุ้น SIMAT, STAR-W, AMAC, MME และ MME-W1
3. นายกมล เอี้ยวศิวิกูล หุ้น SST
4. นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี หุ้น SST
5.นางสาวมัณฑิกา ขุนโหร หุ้น SST
6. นายอภินันทกานต์ พงศ์สถา–บดี หุ้น SIMAT, STAR-W, AMAC, MME, MME-W1 และ L&E
7. นายมีศักดิ์ มากบำรุง หุ้น SIMAT, STAR-W, AMAC, MME และ MME-W1
8. นางสาวศิริญา ดำรงวิถีธรรม หุ้น SIMAT และ STAR-W
9.นางสาวชนาธิป ตันติพูนธรรม หุ้น SIMAT และ STAR-W
10. นายทรี บุญปราศภัย หุ้น MME, MME-W1 และ L&E
11.นายเล็ก ทันใจ หุ้น MME
12.นายปัณณฑัต กล่อมสมร หุ้น L&E
13. นายพาวิตต์ นาถะพินธุ หุ้น L&E
14.นายเทพฤทธิ์ สีหิสราภิสิทธิ์ หุ้น L&E และ
15 นายไท บุญปราศภัย หุ้น SIMAT, STAR-W, AMAC และ L&E
ทั้งนี้ นายกมล ได้ยินยอมเข้ารับการเปรียบ– เทียบความผิด โดยคณะกรรมการเปรียบเทีย
บเมื่อวันที่ 16 มี.ค. 55 และได้ชำระค่าปรับจำนวน 500,000 บาท
ตามคำสั่งของคณะกรรมการเปรียบ– เทียบครบถ้วนแล้ว
จึงทำให้คดีอาญายุติ นอกจากนี้ การกล่าวโทษของ ก.ล.ต.ดังกล่าวมีผลให้
นางสาวมัณฑิกาและนายไทมีลักษณะต้องห้ามของบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน
จึงได้เพิกถอนการเป็นผู้แนะนำการลงทุน.
ข้อมูลที่ http://www.thairath.co.th/content/newspaper/258931
โดย ทีมข่าวเศรษฐกิจ
9 พฤษภาคม 2555
ก.ล.ต.ฟ้อง "ฉาย" และพวก 15 คน รวมหัว "ปั่นหุ้น" หลอกแมลงเม่าบินเข้ากองไฟ
ควรจะโดนเป็นเยี่ยงอย่าง!!! หลังงมอยู่หลายพัก ในที่สุด ก.ล.ต. สั่งกล่าวโทษ
นายฉาย บุนนาค กับพวกรวม 15 คน ต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ หลังพบรวมหัว “ปั่นหุ้น”
ในตลาด 12 หุ้นรวด ตั้งแต่ปี 51-53 หลอกแมลงเม่าเข้าซื้อ
ด้าน “กมล” รับผิดโดยดี ดอดเสียค่าปรับก่อนใคร 5 แสนบาท ยุติคดี
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)
เปิดเผยว่าก.ล.ต.ได้กล่าวโทษนายฉาย บุนนาค กับพวกรวม 15 ราย ต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ)
เมื่อวันที่ 8 พ.ค.ที่ผ่านมา กรณีเป็นผู้สั่งการและผู้สนับสนุนในการสร้างราคาหลักทรัพย์ 12 หลักทรัพย์
ระหว่างปี 51-53 โดย ก.ล.ต. ได้รับแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์ ว่า พบสภาพการซื้อขายหลักทรัพย์ที่ผิดปกติ
12 หลักทรัพย์ และพบพยานหลักฐานที่น่าเชื่อได้ว่า นายฉายและพวกได้สั่งซื้อขายหลักทรัพย์
ผ่านบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของบุคคลต่างๆ จำนวนมาก
โดยมีพฤติกรรมอำพราง เข้าไปส่งคำสั่งซื้อขายในปริมาณมากหลายระดับราคา
มีการเสนอซื้อและเสนอขายเพื่อผลักดันราคา จับคู่ซื้อขายกันเองภายในกลุ่ม
กระตุ้นการซื้อขายด้วยการทยอยส่งคำสั่งซื้อด้วยจำนวนย่อยๆ ที่ระดับราคาเดียวกันหลายรายการ
ตลอดจนพยุงราคาหลักทรัพย์ เพื่อให้บุคคลทั่วไปหลงผิดไปว่าหลักทรัพย์นั้นมีการซื้อขายกันมาก
หรือราคาเปลี่ยนแปลง โดยเป็นการซื้อขายในลักษณะต่อเนื่อง ส่งผลให้การซื้อหรือขายหลักทรัพย์นั้น
ผิดไปจากสภาพปกติของตลาด
โดยการกระทำของนายฉาย เข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243 (1) (2) และมาตรา 244
แห่ง พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 และมาตรา 83 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
ส่วนบุคคลอื่นที่เป็นตัวการร่วมหรือผู้สนับสนุนการสร้างราคา เข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243 (1) (2)
และมาตรา 244 แห่ง พ.ร.บ.หลักทรัพย์ฯ และมาตรา 83 หรือ 86 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
ทั้งนี้จากพยานหลักฐานพบว่า ในช่วงระหว่างปี 51-53 นายฉายได้ซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านบัญชีตนเองและบุคคลต่างๆ
อันเข้าข่ายการสร้างราคารวม 12 หลักทรัพย์
1. หุ้นบริษัททรัพย์ศรีไทย คลังสินค้า จำกัด (มหาชน) ปัจจุบันชื่อบริษัททรัพย์ศรีไทย จำกัด (มหาชน) หรือ SST
2.หุ้นบริษัทซันไชน์ คอร์เปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ “SSE” ปัจจุบัน ชื่อบริษัทอควา คอร์เปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
3.ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญของบริษัทซันไชน์ (SSE-W1)
4.หุ้นบริษัทไทยบริการอุตสาหกรรมและวิศวกรรม จำกัด (มหาชน) หรือ TIES
5.หุ้นบริษัทสตาร์ ซานิทารีแวร์ จำกัด (มหาชน) หรือ STAR
6.ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญบริษัทอินเตอร์เนชั่นแนล รีเสริช คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ IRCP-W1
7.หุ้นบริษัทไซแมท เทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) หรือ SIMAT
8. ใบสำคัญแสดงสิทธิซื้อหุ้นสามัญบริษัทสตาร์ หรือ STAR-W
9.หุ้นบริษัทอะโกร อินดัสเตรียล แมชชีนเนอรี่ จำกัด (มหาชน) หรือ AMAC
ปัจจุบันชื่อบริษัทแมกซ์ เมทัล คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
10.หุ้นบริษัทไมด้า-เมดดาลิสท์ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) หรือ MME
11.ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญบริษัทไมด้า-เมดดาลิสท์ หรือ MME-W1
12. หุ้นบริษัทไลท์ติ้ง แอนด์ อีควิปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) หรือ L&E
โดย ก.ล.ต. มีหลักฐานน่าเชื่อว่า มีบุคคลอื่นที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการซื้อขายหลักทรัพย์ ดังนี้
1.นายปฐมัน บูรณะสิน ในการสร้างราคาหุ้น IRCP-W1, SIMAT, STAR-W, AMAC, MME, MME-W1 และ L&E
2. นายสุพิชยะ ฉายเหมือนวงศ์ หุ้น SIMAT, STAR-W, AMAC, MME และ MME-W1
3. นายกมล เอี้ยวศิวิกูล หุ้น SST
4. นางสาววทันยา วงษ์โอภาสี หุ้น SST
5.นางสาวมัณฑิกา ขุนโหร หุ้น SST
6. นายอภินันทกานต์ พงศ์สถา–บดี หุ้น SIMAT, STAR-W, AMAC, MME, MME-W1 และ L&E
7. นายมีศักดิ์ มากบำรุง หุ้น SIMAT, STAR-W, AMAC, MME และ MME-W1
8. นางสาวศิริญา ดำรงวิถีธรรม หุ้น SIMAT และ STAR-W
9.นางสาวชนาธิป ตันติพูนธรรม หุ้น SIMAT และ STAR-W
10. นายทรี บุญปราศภัย หุ้น MME, MME-W1 และ L&E
11.นายเล็ก ทันใจ หุ้น MME
12.นายปัณณฑัต กล่อมสมร หุ้น L&E
13. นายพาวิตต์ นาถะพินธุ หุ้น L&E
14.นายเทพฤทธิ์ สีหิสราภิสิทธิ์ หุ้น L&E และ
15 นายไท บุญปราศภัย หุ้น SIMAT, STAR-W, AMAC และ L&E
ทั้งนี้ นายกมล ได้ยินยอมเข้ารับการเปรียบ– เทียบความผิด โดยคณะกรรมการเปรียบเทีย
บเมื่อวันที่ 16 มี.ค. 55 และได้ชำระค่าปรับจำนวน 500,000 บาท
ตามคำสั่งของคณะกรรมการเปรียบ– เทียบครบถ้วนแล้ว
จึงทำให้คดีอาญายุติ นอกจากนี้ การกล่าวโทษของ ก.ล.ต.ดังกล่าวมีผลให้
นางสาวมัณฑิกาและนายไทมีลักษณะต้องห้ามของบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน
จึงได้เพิกถอนการเป็นผู้แนะนำการลงทุน.
ข้อมูลที่ http://www.thairath.co.th/content/newspaper/258931
โดย ทีมข่าวเศรษฐกิจ
9 พฤษภาคม 2555
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4256
- ผู้ติดตาม: 9
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 6
ฝากหนังให้ไปดูกันนะครับ
the Wolf of Wall Street...
พระเอกอาจดูดี เพราะว่า ในเรื่องจริงนั้นเขาเป็นผู้ร้าย แต่เขียนหนังสือ แล้วกลายเป็นหนัง
หนังดีครับ น่าชม
the Wolf of Wall Street...
พระเอกอาจดูดี เพราะว่า ในเรื่องจริงนั้นเขาเป็นผู้ร้าย แต่เขียนหนังสือ แล้วกลายเป็นหนัง
หนังดีครับ น่าชม
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
- ปรัชญา
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 18252
- ผู้ติดตาม: 43
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 7
เปิดแฟ้มคดีปั่นหุ้น
เปิดแฟ้มคดีปั่นหุ้น ตลาดหุ้น นับเป็นแหล่งระดมทุนที่มีต้นทุนต่ำที่สุด ตลาด หุ้นนับเป็นแหล่งฟอกเงินที่สะอาดที่สุด
ตลาดหุ้นเป็นแหล่งรวมเสือ สิงห์กระทิง แรด สมันน้อย มากที่สุด ตลาดหุ้นเป็นแหล่งหาเงินที่สะดวกสบายที่สุด
ตลาดหุ้นเป็นแหล่งพนันที่ถูกกฎหมายของประเทศ แน่นอน ตลาดหุ้นไทย นับวันใหญ่โต แม้จะเล็ก
หากเปรียบกับประเทศเพื่อนบ้านไม่รวม ตลาดหุ้นเวียดนาม ลาว แต่อนาคต คงยากที่คาดการณ์ได้ยาก ซึ่งมันนี่เกมยิ่งดุเดือดเลือดพล่าน เกมราคาหุ้นยิ่งมีศิลปะซับซ้อน อีกซีกมุมหนึ่งเหตุใด คำทำนาย การคาดการณ์ ของบรรดาเกจิ นักวิเคราะห์จึงออกมาใกล้เคียง ดุจเทพพยากรณ์ ทำนายไว้ ชนิดเรียกว่า CFO ของบจ.ต้องตะลึงแบบแท้ๆหรือเทียมๆ ขอเว้นวรรค สิ่งเหล่านี้เป็นความท้าทายของเจ้าหน้า ตำรวจอย่างสำนักงานคณะกรรมการกำกับตลาดหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ก.ล. ต.)ที่ต้องดำเนินการตรวจสอบ ค้นหาศึกษา วิเคราะห์ แบบว่า ต้องวิ่งตามโจรให้ทันแต่แน่นอน ใครทำอะไร ต้องทิ้งร่องรอยเอาไว้ เพราะนักลงทุนชาวหุ้นที่ซื้อขายหุ้นปกติ รอยเท้า ย่อมเป็นอีกแบบ ถ้าทำเป็นกระบวนการร่องรอย ย่อมเป็นอีกแบบ ดังนั้นกระบวนการแกะรอย ย่อมยากเย็นเข็ญใจ ขณะที่แรงกดดันจากภายนอกเต็มไปด้วยเสียงบ่น เสียงตำหนิ ทำไมทางการช้าเป็นเรือเกลือ ความเสียหายเกิดขึ้นมิใช่เป็นแค่หุ้นตัวเดียวแต่ภาพรวมตลาดได้รับผลกระทบตาม ไปด้วย..... แน่นอน แหล่งที่มาของข้อมูลการปั่นหุ้นของสำนักงาน ก.ล.ต.มาจากเรื่องราวทีร้องเรียนการกระทำอันไม่เป็นธรรม (สร้างราคา แพร่ข่าวใช้ข้อมูลภายใน) เกิดจากนักลงทุน โดยปี 2552 มีผู้ร้องเรียน 35 เรื่อง ปี 2553 มี 48 เรื่อง หากนับเป็นตัวหุ้น คิดแบบง่ายๆ มีหุ้น 48 ตัว ล่าสุด 4 เดือน ปีกระต่าย ปี 2554สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ก.ล.ต.)ได้ลงโทษ นักปั่น พร้อมเปิดเผยชื่อเสียงเรียงนาม ทั้งชื่อเก่า ชื่อใหม่บางรายเป็นผู้บริหารบริษัทจดทะเบียน บางคดีส่งเรื่องให้ศาลตัดสิน บางคดีส่งเรื่องให้DSI จัดการใครเป็นใคร
ขอเปิดแฟ้มคดีปั่นหุ้น.......
สั่งปรับ2นักปั่นTWZ เป็นเงิน 20.63 ลบ. คณะ กรรมการเปรียบเทียบมีคำสั่งเปรียบเทียบปรับ
นายอัถวุฒิ ไผ่ไชย และนายปฏิญญา พิทยานุภากร
กรณีสร้างราคาหุ้นบริษัททีดับบลิวแซด คอร์ปอร์เรชั่น จำกัด(มหาชน) (TWZ) เป็นจำนวนเงินรวม 20,635,579.57 บาท
สืบเนื่องจาก ก.ล.ต.ได้รับเรื่องจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่าตรวจสอบพบสภาพการซื้อ ขายหุ้นTWZ
ที่ผิดปกติอันเนื่องมาจากการซื้อขายของบุคคลกลุ่มหนึ่งและจากการตรวจสอบของ ก.ล.ต.
พบว่าในช่วงเวลาดังต่อไปนี้ (1) วันที่ 28กันยายน ถึงวันที่ 26 ตุลาคม 2550 (2)
วันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม2551 และ (3) วันที่ 23 มิถุนายน ถึงวันที่ 24 มิถุนายน 2551
นายอัถวุฒิและนายปฏิญญาได้ร่วมกันซื้อขายหุ้น TWZ ในลักษณะต่อเนื่องทำให้การซื้อขายหุ้นTWZผิด
ไปจากสภาพปกติของตลาดเพื่อชักจูงใจให้บุคคลทั่วไปเข้าทำการซื้อขายหุ้นดัง กล่าว
การกระทำของบุคคลทั้งสองเข้าข่ายเป็นการปฏิบัติฝ่าฝืนมาตรา 243 (2)แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบปรับนายอัถวุฒิ และนายปฏิญญา
เป็นเงิน16,071,788.32 บาท และ 4,563,791.25 บาท
ตามลำดับ เชือด ชัชพงศ์ มัญชุภา รองMD-กก.SLC ฐานอินไซต์ขายหุ้นSLC
คณะกรรมการเปรียบเทียบมีคำสั่งเปรียบเทียบปรับนายชัชพงศ์มัญชุภา รวม 2 กรณี เป็นจำนวนเงิน 1,185,785.60 บาท
โดย ก.ล.ต.ได้รับเรื่องจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและได้ตรวจสอบข้อเท็จจริง พบว่า
(1)นายชัชพงศ์ในขณะดำรงตำแหน่งรองกรรมการผู้จัดการและกรรมการของบริษัท โซลูชั่น คอนเนอร์ (1998) จำกัด
(มหาชน) (SLC) ได้ขายหุ้นSLC เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2552โดยอาศัยข้อมูลภายในของบริษัท SLCที่รู้จาก
ตำแหน่งหน้าที่เกี่ยวกับการขายหุ้นจำนวนมากของผู้ถือหุ้นใหญ่ และผู้บริหารให้แก่ผู้ซื้อกลุ่มใหม่รวมทั้งการเปลี่ยน
โครงสร้างผู้ถือหุ้น ใหญ่และผู้บริหารของบริษัทก่อนที่ข้อมูลนั้นจะเปิดเผยต่อสาธารณะ และ
(2)นายชัชพงศ์ในฐานะรองกรรมการผู้จัดการและกรรมการของบริษัท SLCบอกกล่าว
ข้อความอันเป็นเท็จต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ เมื่อวันที่28 กันยายน 2552 โดยชี้แจงในนามบริษัท SLCปฏิเสธข่าว
การขายหุ้น SLC ของผู้ถือหุ้นรายใหญ่และผู้บริหารโดยเจตนาให้ผู้อื่นสำคัญผิดในข้อเท็จจริง ที่มีผลกระทบราคา
ซื้อขายหุ้นSLC ทั้งที่ตนทราบข้อเท็จจริงดังกล่าวอยู่แล้วจากการปฏิบัติหน้าที่การกระทำของ นายชัชพงศ์เข้าข่าย
เป็นการขายหุ้นโดยอาศัยข้อมูลภายในที่เป็นการเอาเปรียบ ผู้ลงทุนอื่นฝ่าฝืนมาตรา 241 แห่งพระราชบัญญัติ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535และเข้าข่ายเป็นการบอกกล่าวข้อความอันเป็นเท็จโดยมีเจตนาให้ผู้อื่น
สำคัญผิดในข้อเท็จจริงเกี่ยวกับราคาซื้อขายหลักทรัพย์SLC ฝ่าฝืนมาตรา 238 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ
มีความผิดต้องระวางโทษตามมาตรา 296 แห่งพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันคณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบ
ปรับ นายชัชพงศ์ เป็นจำนวนเงิน685,785.60 บาท และ 500,000.00 บาท ตามลำดับ รวมเป็นเงิน 1,185,785.60 บาท
ศาลพิพากษาลงโทษผู้กระทำความผิดกรณีสนับสนุนการสร้างราคาหุ้น CWT
ศาล อาญามีคำพิพากษาลงโทษนายปยุฒ อนันตสิทธิกุลกรณีเป็นผู้สนับสนุนการสร้างราคาหลักทรัพย์
บริษัท ชัยวัฒนา แทนเนอรี่ กรุ๊ปจำกัด (มหาชน) โดยปรับเป็นเงิน 600,000 บาทสืบ
เนื่องจากวันที่ 10 มกราคม 2551 ก.ล.ต. ได้กล่าวโทษบุคคล 2 ราย คือ
(1)นางสาวกนกวรรณ ทิพยเทอดธนา และ (2) นายปยุฒ อนันตสิทธิกุล
กรณีสร้างราคาหุ้น CWT ระหว่างวันที่ 15 กรกฎาคม 2547 ถึงวันที่ 9 กุมภาพันธ์2548
อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 243 และมาตรา 244 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535
ประกอบมาตรา 83และมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายอาญา และพนักงานอัยการมีคำสั่งฟ้องบุคคลทั้งสอง
พร้อมทั้งได้นำตัวนายปยุฒ ยื่นฟ้องต่อศาลอาญาและอยู่ระหว่างติดตามตัวนางสาวกนกวรรณเพื่อส่งฟ้องต่อศาล
ต่อไป ต่อ มาเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 ศาลอาญาได้มีคำพิพากษาว่า นายปยุฒมีความผิดตามพระราชบัญญัติ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาตรา243(1) (2) มาตรา 244(2) (3) ประกอบมาตรา 86 แห่งประมวล
กฎหมายอาญาปรับเป็นเงิน 600,000 บาท
ฉาวไม่เลิก ก.ล.ต. กล่าวโทษบุคคล 4 ราย ฐานปั่นหุ้นTWZ ในช่วงปี50 -51 ต่อ DSI ก.ล.ต. กล่าวโทษ
นางสาวณัฐวดี จินดาประเสริฐ นายอัถวุฒิ ไผ่ไชย และนายปฏิญญา พิทยานุภากร ผู้ซื้อขายหุ้น
และนายนกรณ์ ธนสรกรชัชชล (หรือในขณะเกิดเหตุชื่อ นายนภดล ตู้พิทักษ์ผล)เจ้าหน้าที่การตลาดของบริษัทหลักทรัพย์
ซิกโก้ จำกัด (มหาชน)ต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษในฐานความผิดกรณีสร้างราคาหุ้น
บริษัททีดับ บลิวแซดคอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (TWZ) ในช่วงระหว่าง (1) วันที่ 28กันยายน - 26 ตุลาคม 2550 (2)
วันที่ 28 เมษายน - 15 พฤษภาคม 2551 และ (3) วันที่ 23 - 24 มิถุนายน 2551
ตาม ที่ ก.ล.ต. ได้เปิดเผยข้อมูลเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 ว่าคณะกรรมการเปรียบเทียบตามพระราชบัญญัติ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535
มีคำสั่งเปรียบเทียบปรับนายอัถวุฒิ ไผ่ไชย และนายปฏิญญา พิทยานุภากรเป็นจำนวนเงิน 16,071,788.32 บาท
และ 4,563,791.25 บาท ตามลำดับกรณีมีส่วนรู้เห็นหรือตกลงกับบุคคลอื่นในการซื้อขายหุ้น TWZ
ใน ลักษณะสร้างราคา เพื่อชักจูงให้บุคคลทั่วไปเข้าทำการซื้อหรือขายหุ้นนั้นอันเข้าข่ายเป็นความ ผิดตามมาตรา 243 (2)
แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯประกอบมาตรา 83 แห่งประมวลกฎหมายอาญา นั้น
เนื่องจากบุคคลทั้งสองไม่ชำระค่าปรับตามคำสั่งของคณะกรรมการเปรียบเทียบ ก.ล.ต. จึงจำเป็นต้องกล่าวโทษ
นายอัถวุฒิ และนายปฏิญญา ต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษเพื่อให้สอบสวนและดำเนินคดีกับบุคคลดังกล่าว
พร้อม กันนี้ ก.ล.ต. ได้กล่าวโทษบุคคลอีก 2 ราย คือ นางสาวณัฐวดี จินดาประเสริฐ และนายนกรณ์ ธนสรกรชัชชล
ซึ่งมีพยานหลักฐานน่าเชื่อว่ามีส่วนรู้เห็นหรือตกลงในการกระทำความผิดข้าง ต้น โดยนางสาวณัฐวดีได้ร่วมกับ
นายอัถวุฒิและนายปฏิญญาซื้อขายหุ้น TWZ ในลักษณะสร้างราคาชักจูงให้บุคคลทั่วไปเข้าทำการซื้อหรือขายหุ้นส่วน
นาย นกรณ์ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่การตลาดให้ความร่วมมือในการจัดการเกี่ยวกับระบบ อินเตอร์เน็ตที่บัญชีของ
นางสาวณัฐวดีนายอัถวุฒิ และนายปฏิญญาใช้ในการซื้อขายหุ้น TWZ ในลักษณะสร้างราคา
โดยนางสาวณัฐวดีและนายนกรณ์ไม่ยินยอมเข้ารับการเปรียบเทียบจากคณะกรรมการ เปรียบเทียบ นอก จากนี้
เนื่องจากนายนกรณ์ ธนสรกรชัชชล (หรือในขณะเกิดเหตุชื่อนายนภดล ตู้พิทักษ์ผล)มีฐานะเป็นบุคคล
ที่ได้รับความเห็นชอบให้เป็นบุคลากรในธุรกิจ ตลาดทุน การถูกก.ล.ต.กล่าวโทษด้วยเหตุกระทำการอันไม่เป็นธรรม
ในการซื้อขายหลักทรัพย์ ตามที่กล่าวข้างต้นเป็นเหตุให้นายนกรณ์เข้าข่ายมีลักษณะต้องห้ามตามประกาศ
ที่เกี่ยวข้องตลอดระยะเวลาที่ถูกกล่าวโทษดำเนินคดีและเป็นผลให้นายนกรณ์ไม่ สามารถทำหน้าที่เป็นบุคลากร
ในธุรกิจตลาดทุนได้ต่อไป อนึ่ง การกล่าวโทษเป็นจุดเริ่มต้นของการนำคดีเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางอาญาซึ่ง
ผู้ถูกกล่าวโทษยังมีสิทธิจะพิสูจน์การกระทำของตัวเองได้ต่อไป
ศาลสั่งจำคุก กิตติพัฒน์ เยาวพฤกษ์ ฐานตบแต่งบัญชี-ใช้อินไซต์เดอร์เทรดดิ้งรอยเนท
ศาล อาญากรุงเทพใต้มีคำพิพากษาลงโทษนายกิตติพัฒน์ เยาวพฤกษ์กรณีตกแต่งบัญชีเพื่อลวงบุคคลอื่น
ปกปิดรายงานการซื้อขายหลักทรัพย์และใช้ข้อมูลภายในซื้อขายหลักทรัพย์ โดยให้จำคุก 8 ปี 18 เดือนและ
ปรับ1,880,000 บาท สืบ เนื่องจากวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2546 ก.ล.ต. ได้กล่าวโทษบริษัทรอยเนทจำกัด (มหาชน)
และนายกิตติพัฒน์ เยาวพฤกษ์ กรณีตกแต่งบัญชีเพื่อลวงบุคคลอื่น ลงข้อความอันเป็นเท็จในเอกสารปกปิด
รายงานการซื้อขายหลักทรัพย์ และใช้ข้อมูลภายในในการซื้อขายหลักทรัพย์อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 300
ประกอบมาตรา 56 มาตรา 59 มาตรา 238 มาตรา 241มาตรา 246 และมาตรา 312 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์
และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 ซึ่งพนักงานอัยการได้ยื่นฟ้องต่อศาลอาญากรุงเทพใต้โดยศาลอาญากรุงเทพใต้
รับ พิจารณาเฉพาะส่วนของนายกิตติพัฒน์ เยาวพฤกษ์ ใน วันนี้ (22 มีนาคม 2554) ศาลอาญากรุงเทพใต้พิพากษาว่า
นายกิตติพัฒน์ เยาวพฤกษ์ มีความผิดตามมาตรา 300 ประกอบมาตรา 56 มาตรา 59 มาตรา 238 มาตรา241
มาตรา 246 มาตรา 274 มาตรา 275 มาตรา 296 มาตรา 298 และมาตรา 312แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์
และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ประกอบมาตรา 83แห่งประมวลกฎหมายอาญา การกระทำความผิดของจำเลย
เป็นความผิดหลายกรรมต่างกันให้ลงโทษทุกกรรมเป็น กระทงความผิด*รวมลงโทษจำคุก 16 ปี 36 เดือน
และปรับเป็นเงิน 3,760,000 บาท แต่จำเลยให้การสารภาพ มีเหตุบรรเทาโทษ จึงให้ลดโทษลงกึ่งหนึ่ง
เป็นจำคุก 8 ปี18 เดือน โดยไม่รอลงอาญา และปรับ 1,880,000 บาท * หมายเหตุ ความผิดหลายกรรมต่างกัน
ในกรณีนี้ เช่น ความผิดตามมาตรา 246 ซึ่งไม่รายงานตามที่มีหน้าที่ 9 ครั้ง ลงโทษ 9 กระทง
โดยจำคุกกระทงละ 4 เดือนรวมจำคุก 36 เดือน เมื่อลดโทษกึ่งหนึ่งจึงเป็นจำคุก 18 เดือน
(โปรดอ่านรายละเอียดการกล่าวโทษได้ที่ ข่าว ก.ล.ต. ฉบับที่ 6/2546 วันที่ 24กุมภาพันธ์ 2546)
เปิดเส้นทางนักปั่นหุ้นTRAF-SAMART-SIM-SAMTEL-RCI คณะกรรมการเปรียบเทียบมีคำสั่งเปรียบเทียบปรับ
ผู้กระทำผิดกรณีสร้างราคาหุ้น 3กรณี ได้แก่ (1) นางสาวลลนา ศิริจรรยากุล นายสิปปกร ขาวสอาด และ
นางสาวรินนภาคุณะวัฒน์สถิตย์ กรณีสร้างราคาหุ้นบริษัททราฟฟิกคอร์นเนอร์ โฮลดิ้งส์ จำกัด(มหาชน) (TRAF)
(ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัทเอ็ม พิคเจอร์สเอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) (MPIC)
และนางสาวจันทราภา วงศ์ไพบูลย์ในฐานะผู้ช่วยเหลือสนับสนุน เป็นจำนวนเงินรวม 38,148,857.59 บาท
(2) นางผ่องศรี สลักเพชร และ ม.ล. สุนทรชัย ชยางกูรกรณีสร้างราคาหุ้นของ
บริษัทสามารถ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (SAMART)บริษัทสามารถ ไอ-โมบาย จำกัด (มหาชน) (SIM)
และบริษัทสามารถเทลคอม จำกัด(มหาชน) (SAMTEL)
รวมถึงนายสมชาย วิโมกข์เจริญสุข และนายสมรวย แซ่ลิ้มในฐานะผู้ช่วยเหลือสนับสนุน
เป็นจำนวนเงินรวม 36,605,453.69 บาท และ
(3) นายอดิเรก อุ่มบางตลาดกรณีเป็นผู้ช่วยเหลือสนับสนุนการสร้างราคาหุ้น
บริษัทโรแยล ซีรามิค อุตสาหกรรมจำกัด (มหาชน) (RCI) เป็นจำนวนเงิน 333,333.33 บาท
โดยมีรายละเอียดดังนี้
(1) กรณีสร้างราคาหุ้นบริษัททราฟฟิกคอร์นเนอร์ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)(TRAF)
ก.ล.ต. ได้รับแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่าตรวจสอบพบสภาพการซื้อขายหุ้น TRAF
ที่ผิดปกติอันเนื่องมาจากการซื้อขายของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งจากการตรวจสอบของก.ล.ต.
พบว่าในระหว่างวันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 ถึงวันที่ 9 มกราคม 2551
นางสาวลลนา ศิริจรรยากุล ร่วมกับนายสิปปกร ขาวสอาดซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการฝ่ายลูกค้า
สัมพันธ์ บริษัทหลักทรัพย์เคทีบี จำกัดจัดหาบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์เพื่อใช้ส่งคำสั่งซื้อขายสร้างราคาหุ้นรวม 3บัญชี
รวมทั้งได้ตกลงรู้เห็นกับนางสาวรินนภา คุณะวัฒน์สถิตย์ในการใช้บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของนางสาวรินนภา
ในการสร้างราคาหุ้น TRAF ด้วยโดยมีพฤติกรรมสลับกันซื้อขาย ผลักดันราคา จับคู่ซื้อขายกันเองและแตกคำสั่งย่อยๆ
หลายคำสั่งในลักษณะอำพรางเพื่อให้บุคคลทั่วไปหลงผิดเกี่ยวกับปริมาณและราคา ซื้อขายหุ้นTRAF รวมทั้งซื้อขาย
ในลักษณะต่อเนื่อง ทำให้การซื้อขายหุ้น TRAFผิดไปจากสภาพปกติของตลาด เพื่อจูงใจให้นักลงทุนอื่นเข้าซื้อขายหุ้น
ดังกล่าว ส่วน การซื้อขายในบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของนางสาวรินนภาได้รับความช่วยเหลือจาก
นางสาวจันทราภาวงศ์ไพบูลย์ซึ่งขณะนั้นปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ติดต่อกับผู้ลง ทุนของบริษัทหลักทรัพย์เค ทีบี จำกัด
เป็นผู้ส่งคำสั่งในลักษณะที่ไม่เหมาะสมการกระทำของนางสาวลลนา นายสิปปกร และนางสาวรินนภาเข้าข่าย
เป็นความผิดตามมาตรา 243 (1) ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243 (2) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ
ประกอบมาตรา 83 แห่งประมวลกฎหมายอาญา คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบปรับบุคคลทั้งสาม
เป็นจำนวน เงิน36,815,524.26 บาท 500,000 บาท และ 500,000 บาท ตามลำดับ ส่วนการกระทำของ
นางสาวจันทราภา เข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243
(1)ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243 (2)
แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ ประกอบมาตรา86 แห่งประมวลกฎหมายอาญา คณะกรรมการเปรียบเทียบ
จึงได้เปรียบเทียบปรับนางสาวจันทราภา เป็นเงิน333,333.33 บาท สำหรับในด้านการเป็นบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน
ก.ล.ต.จะได้ดำเนินการกับนายสิปปกรและนางสาวจันทราภาต่อไป
(2) กรณีสร้างราคาหุ้นของบริษัทสามารถ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)(SAMART)
บริษัทสามารถ ไอ-โมบาย จำกัด (มหาชน) (SIM)และบริษัทสามารถเทลคอม จำกัด (มหาชน) (SAMTEL)
ก.ล.ต. ได้รับแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์ฯ ว่า ตรวจสอบพบสภาพการซื้อขายหุ้น SAMARTSIM และ SAMTEL
ที่ผิดปกติอันเนื่องมาจากการซื้อขายของบุคคลกลุ่มหนึ่งซึ่งจากการตรวจสอบของ ก.ล.ต. พบว่า
(1) หุ้น SAMART ระหว่างวันที่ 5 เมษายน2549 ถึงวันที่ 13 ตุลาคม 2549
(2) หุ้น SIM ระหว่างวันที่ 11 มกราคม 2549ถึงวันที่ 12 ธันวาคม 2549 และ
(3) หุ้น SAMTEL ระหว่างวันที่ 16 มีนาคม 2549ถึงวันที่ 19 กันยายน 2549
มีปริมาณและราคาซื้อขายเปลี่ยนแปลงไปผิดจากสภาพปกติของตลาดเนื่องจากนาง ผ่องศรีสลักเพชร
ซึ่งรู้เห็นตกลงกับ ม.ล. สุนทรชัย ชยางกูรใช้บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของ ม.ล. สุนทรชัย นายสมชาย วิโมกข์เจริญสุข
และนายสมรวย แซ่ลิ้ม ซื้อขายหุ้น SAMART หุ้น SIM และหุ้น SAMTELในลักษณะผลักดันราคาและพยุงราคาซื้อขาย
จับคู่กันเองระหว่างบัญชีใน ลักษณะอำพรางเพื่อให้บุคคลทั่วไปหลงผิดเกี่ยวกับปริมาณและราคาซื้อขายหุ้น ดังกล่าว
รวมทั้งมีพฤติกรรมซื้อขายในลักษณะต่อเนื่องที่ทำให้การซื้อขายหุ้น ผิดไปจากสภาพปกติของตลาดเพื่อชักจูงให้
บุคคลทั่วไปเข้าซื้อขายหุ้นเหล่านั้น โดยมีนายสมชายและนายสมรวยให้การช่วยเหลือสนับสนุนในการกระทำผิด
ด้วยการให้ ยืมใช้ชื่อในการเปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์และบัญชีเงินฝากธนาคารและอำนวย ความสะดวกด้านธุรกรรม
ทางการเงิน การกระทำของนางผ่องศรี และ ม.ล. สุนทรชัย เข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243 (1) ประกอบมาตรา 244
และมาตรา 243 (2) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ ประกอบมาตรา 83 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบปรับนางผ่องศรี 33,105,453.71 บาท และม.ล. สุนทรชัย 1,500,000 บาท
ส่วนการกระทำของนายสมชาย และนายสมรวยเข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243 (1) ประกอบมาตรา 244
และมาตรา 243 (2)แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ ประกอบมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายอาญาคณะกรรมการ
เปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบปรับนายสมชาย และนายสมรวย รายละ 999,999.99 บาท (3) กรณีสร้างราคาหุ้น
บริษัทโรแยล ซีรามิค อุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) (RCI)ตามที่ ก.ล.ต. ได้เปิดเผยข้อมูลเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553
ว่า ก.ล.ต.ได้กล่าวโทษนายอดิเรกอุ่มบางตลาดต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษเนื่องจากนาย อดิเรกไม่ยินยอมเข้ารับการ
เปรียบเทียบอันสืบเนื่องมาจากการช่วยเหลือสนับ สนุนการกระทำผิดในการสร้างราคาหุ้นRCI เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2551
ซึ่งเข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243 (1)ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243 (2) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ
ประกอบมาตรา86 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ต่อ มาภายหลังการกล่าวโทษ กรมสอบสวนคดีพิเศษได้แจ้งมายัง ก.ล.ต.
ว่านายอดิเรกประสงค์จะกลับเข้าสู่กระบวนการพิจารณาเปรียบเทียบความผิดตามพระ ราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯก.ล.ต.
จึงได้เสนอเรื่องต่อคณะกรรมการเปรียบเทียบเพื่อพิจารณาคณะกรรมการเปรียบ เทียบพิจารณาแล้ว มีคำสั่งเปรียบเทียบ
ปรับนายอดิเรก333,333.33 บาท ก.ล.ต. กล่าวโทษบุคคล 4 รายกรณีใช้อินไซต์เทรดหุ้น KARAT ก.ล.ต. กล่าวโทษ
นายอภิชาติ รุ่งเรืองอาชีวะ (ขณะเกิดเหตุชื่อ นายวิสิทธิ์กาญจโนภาส) นางรัชนี พานิช นายกฤษฎา กุลวิวัฒน์
และนายปรีชา ไม่ทราบนามสกุลต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ จากการที่พบพยานหลักฐานน่าเชื่อว่าบุคคลดังกล่าว
ซื้อขายหุ้นบริษัทกะรัต สุขภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) (KARAT)โดยอาศัยข้อมูลภายในที่นายอภิชาติได้ล่วงรู้มาในฐานะ
เป็นหัวหน้าทีม ที่ปรึกษากฎหมายในการทำคำเสนอซื้อหุ้นKARAT ก่อนที่จะมีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต่อประชาชน
สืบเนื่องจากผลการตรวจสอบการซื้อขายหุ้นบริษัทแกรนด์ แอสเสท ดีเวลลอปเม้นท์จำกัด (มหาชน) (GRAND)
เมื่อปี 2549 ก.ล.ต. พบพยานหลักฐานน่าเชื่อว่าในระหว่างวันที่ 15 มกราคม - 2 กรกฎาคม 2545
นายอภิชาติร่วมกับนางรัชนีนายกฤษฎา และนายปรีชา ซื้อขายหุ้น KARATผ่านบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของ
นางรัชนี บุคคลที่ใกล้ชิดกับนางรัชนีและนายกฤษฎาโดยอาศัยข้อเท็จจริงที่นายอภิชาติได้ ล่วงรู้มาจากการทำหน้าที่
เป็นหัวหน้าทีมที่ปรึกษากฎหมายของฝ่ายผู้ซื้อในการ เข้าซื้อหุ้นKARAT จากกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และการทำคำ
เสนอซื้อเพื่อเพิกถอนหุ้น KARATออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก่อน
ที่ข้อมูลนั้นจะเปิดเผยต่อประชาชนในวันที่ 3 กรกฎาคม 2545 โดยพบว่าบัญชีที่ใช้ซื้อขายหุ้น KARAT
ที่กล่าวข้างต้นบางบัญชีเปิดขึ้นเพื่อซื้อขายหุ้น KARAT เพียงหุ้นเดียวและทุกบัญชีไม่เคยซื้อขายหุ้น KARAT
ก่อนที่นายอภิชาติจะทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษากฎหมายในธุรกรรมนี้แต่เพิ่ง จะมาซื้อขายและเพิ่มปริมาณการซื้อขาย
เป็นจำนวนมากในช่วงที่ข้อเท็จจริง เรื่องการซื้อหุ้นKARAT เพื่อครอบงำกิจการมีความชัดเจน โดยบุคคลทั้ง 4ราย
ได้ผลประโยชน์จากการซื้อขายหุ้น KARAT เป็นจำนวนเงินกว่า 10 ล้านบาท ก.ล.ต. เห็นว่าการกระทำของ
นายอภิชาติเข้าข่ายเป็นการซื้อขายหุ้นโดยอาศัยข้อมูลภาย ในที่เป็นการเอาเปรียบผู้ลงทุนอื่นฝ่าฝืนมาตรา 241
แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535มีความผิดต้องระวางโทษตามมาตรา 296
แห่งพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันโดยนางรัชนี นายกฤษฎา และนายปรีชาเข้าข่ายเป็นผู้สนับสนุนการกระทำความผิด
มีความผิดต้องระวางโทษ ตามมาตรา 296 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ ประกอบมาตรา86 แห่งประมวลกฎหมาย
อาญา ทั้งนี้ นายอภิชาติและนางรัชนีได้ปฏิเสธข้อกล่าวหาส่วนนายกฤษฎาไม่ติดต่อเพื่อขอชี้ แจงและนายปรีชา
ไม่มีหลักฐานที่จะระบุตัวตนได้ว่าคือบุคคลใด ก.ล.ต.จึงกล่าวโทษนายอภิชาติกับพวกอีก 3 คนต่อกรมสอบสวน
คดีพิเศษ อนึ่ง การกล่าวโทษเป็นจุดเริ่มต้นของการนำคดีเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางอาญาซึ่งศาลจะเป็นผู้วินิจฉัย
กรณีดังกล่าวต่อไป ก.ล.ต. กล่าวโทษ ลลนา ศิริจรรยากุล กรณีสร้างราคาหุ้น TRAF ก.ล.ต. กล่าวโทษ
นางสาวลลนา ศิริจรรยากุลต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษในฐานความผิดกรณี
สร้างราคาหุ้นบริษัท ทราฟฟิกคอร์นเนอร์โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) (TRAF)
(ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัทเอ็มพิคเจอร์ส เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) (MPIC))
ในช่วงระหว่างวันที่ 15พฤศจิกายน 2550 ถึงวันที่ 9 มกราคม 2551ตามที่ ก.ล.ต. ได้เปิดเผยข้อมูล
เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2554 ว่าคณะกรรมการเปรียบเทียบตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535
มีคำสั่งเปรียบเทียบปรับนางสาวลลนา ศิริจรรยากุล เป็นจำนวนเงิน36,815,524.26 บาท กรณี มีส่วนรู้เห็นหรือตกลง
กับบุคคลอื่นในการจัดหาและใช้บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ ของบุคคลอื่นในการซื้อขายหุ้นTRAF
ในลักษณะสร้างราคาโดยอำพรางให้บุคคลทั่วไปหลงผิดเกี่ยวกับปริมาณและราคาซื้อ ขายหุ้น TRAF
รวมทั้งซื้อขายในลักษณะต่อเนื่อง ทำให้การซื้อขายหุ้น TRAF ผิดไปจากสภาพปกติของตลาด
เพื่อจูงใจให้นักลงทุนอื่นเข้าซื้อขายหุ้นดังกล่าวซึ่งเข้าข่ายเป็นความผิด ตามมาตรา 243 (1) ประกอบมาตรา 244
และมาตรา 243 (2)แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ ประกอบมาตรา 83 แห่งประมวลกฎหมายอาญา นั้น
เนื่องจากนางสาวลลนาไม่ชำระค่าปรับตามคำสั่งของคณะกรรมการเปรียบเทียบ ก.ล.ต.จึงได้กล่าวโทษนางสาวลลนา
ต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ เพื่อสอบสวนและดำเนินคดีต่อไป อนึ่ง การกล่าวโทษเป็นจุดเริ่มต้นของการนำคดีเข้าสู่
กระบวนการยุติธรรมทางอาญาซึ่ง ผู้ถูกกล่าวโทษยังมีสิทธิจะพิสูจน์การกระทำของตัวเองได้ต่อไป จากเหตุการณ์
จากคดี จากการเปรียบเทียบของ ก.ล.ต. คำถาม คือบทเรียนต่างๆที่เกิดขึ้น ทำให้บรรดานักปั่นหุ้นเกรงกลัวหรือไม่
คำตอบ คือ เปล่า ไม่กลัวแต่จะนำสิ่งที่เกิดขึ้นไป ศึกษา ประยุกต์ใช้ ให้เนียนสลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม
ทุกบัญชีซื้อขายหุ้นย่อมมีมูลค่าเพิ่มขึ้นด้วย เพราะความเสี่ยงเพิ่มขึ้นท่ามกลางผู้บริหารบริษัทจดทะเบียน(บางราย)
รับรู้ รับทราบพร้อมเปิดเผยแผนงาน แผนธุรกิจต่างๆให้นักปั่น นักลงทุน ให้มาร์เก็ตเมกเกอร์รับทราบ
ส่วนการจะไปดำเนินการ ไปเล่น ไปเทรด เป็นเรื่องของอินเวสเตอร์เอง
บริษัทไม่เกี่ยว หุ้นใหญ่ไม่ทุบหุ้นไม่สาดหุ้นใส่ อย่างไรก็ตาม ยิ่งทางการ ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์
คุมเข้มโบรกเกอร์ให้ความร่วมมือด้วยแล้ว ทำให้กระบวนการปั่นหุ้น ทำได้ยาก ขาใหญ่เบื่อหน่ายกับการถูกตรวจสอบ
ถูกซักถามจากผู้มีอำนาจ เบนเข็มเทรดหุ้นบิ๊กแคปสบายใจกว่า จะลาก จะทุบ จะสาด ไม่มีใครกว่า
สะท้อนได้จากเกมหุ้นบิ๊กแคปเคลื่อนไหวหวืดหวา ถ้าเครื่องตรวจสอบหุ้นผิดปกติ ไม่เอาหูไปนาเอาตาไปไร่เสียก่อน
ขาใหญ่ บางรายลดการเทรดหุ้น หันมาปล่อยกู้ให้นักลงทุนแทน โดยใช้สูตรหาดใหญ่หลายรายกระโดดเข้ารวมกลุ่ม
กับบรรดาแวลู อินเวสเตอร์ เรียกว่า ผสมพันธุ์กลายพันธุ์ไปเกือบหมด แวลูฯแต่ละกลุ่ม แต่ละก๊วน มีไอเดียเป็นของตนเอง
รูปแบบการเล่นเปลี่ยนไป ฐานใหญ่ขึ้น ปั่นหุ้นไร้ปัจจัยพื้นฐาน สูญพันธุ์ไปจากตลาดหุ้นไทย แต่ปั่นหุ้นพื้นฐาน
กำลังเฟื่องฟู ด้วยฝีมือ.....คราวนี้เราต้องมาเปิดแฟ้มคดีหุ้นปั่นฉบับปัจจัยพื้นฐาน ตลาด ก.ล.ต. พร้อมรึยัง
โดย คนกลายพันธุ์
วันที่ : 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
ข้อมูลที่ http://www.hooninside.com/news-detail.php?id=946
เปิดแฟ้มคดีปั่นหุ้น ตลาดหุ้น นับเป็นแหล่งระดมทุนที่มีต้นทุนต่ำที่สุด ตลาด หุ้นนับเป็นแหล่งฟอกเงินที่สะอาดที่สุด
ตลาดหุ้นเป็นแหล่งรวมเสือ สิงห์กระทิง แรด สมันน้อย มากที่สุด ตลาดหุ้นเป็นแหล่งหาเงินที่สะดวกสบายที่สุด
ตลาดหุ้นเป็นแหล่งพนันที่ถูกกฎหมายของประเทศ แน่นอน ตลาดหุ้นไทย นับวันใหญ่โต แม้จะเล็ก
หากเปรียบกับประเทศเพื่อนบ้านไม่รวม ตลาดหุ้นเวียดนาม ลาว แต่อนาคต คงยากที่คาดการณ์ได้ยาก ซึ่งมันนี่เกมยิ่งดุเดือดเลือดพล่าน เกมราคาหุ้นยิ่งมีศิลปะซับซ้อน อีกซีกมุมหนึ่งเหตุใด คำทำนาย การคาดการณ์ ของบรรดาเกจิ นักวิเคราะห์จึงออกมาใกล้เคียง ดุจเทพพยากรณ์ ทำนายไว้ ชนิดเรียกว่า CFO ของบจ.ต้องตะลึงแบบแท้ๆหรือเทียมๆ ขอเว้นวรรค สิ่งเหล่านี้เป็นความท้าทายของเจ้าหน้า ตำรวจอย่างสำนักงานคณะกรรมการกำกับตลาดหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ก.ล. ต.)ที่ต้องดำเนินการตรวจสอบ ค้นหาศึกษา วิเคราะห์ แบบว่า ต้องวิ่งตามโจรให้ทันแต่แน่นอน ใครทำอะไร ต้องทิ้งร่องรอยเอาไว้ เพราะนักลงทุนชาวหุ้นที่ซื้อขายหุ้นปกติ รอยเท้า ย่อมเป็นอีกแบบ ถ้าทำเป็นกระบวนการร่องรอย ย่อมเป็นอีกแบบ ดังนั้นกระบวนการแกะรอย ย่อมยากเย็นเข็ญใจ ขณะที่แรงกดดันจากภายนอกเต็มไปด้วยเสียงบ่น เสียงตำหนิ ทำไมทางการช้าเป็นเรือเกลือ ความเสียหายเกิดขึ้นมิใช่เป็นแค่หุ้นตัวเดียวแต่ภาพรวมตลาดได้รับผลกระทบตาม ไปด้วย..... แน่นอน แหล่งที่มาของข้อมูลการปั่นหุ้นของสำนักงาน ก.ล.ต.มาจากเรื่องราวทีร้องเรียนการกระทำอันไม่เป็นธรรม (สร้างราคา แพร่ข่าวใช้ข้อมูลภายใน) เกิดจากนักลงทุน โดยปี 2552 มีผู้ร้องเรียน 35 เรื่อง ปี 2553 มี 48 เรื่อง หากนับเป็นตัวหุ้น คิดแบบง่ายๆ มีหุ้น 48 ตัว ล่าสุด 4 เดือน ปีกระต่าย ปี 2554สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ก.ล.ต.)ได้ลงโทษ นักปั่น พร้อมเปิดเผยชื่อเสียงเรียงนาม ทั้งชื่อเก่า ชื่อใหม่บางรายเป็นผู้บริหารบริษัทจดทะเบียน บางคดีส่งเรื่องให้ศาลตัดสิน บางคดีส่งเรื่องให้DSI จัดการใครเป็นใคร
ขอเปิดแฟ้มคดีปั่นหุ้น.......
สั่งปรับ2นักปั่นTWZ เป็นเงิน 20.63 ลบ. คณะ กรรมการเปรียบเทียบมีคำสั่งเปรียบเทียบปรับ
นายอัถวุฒิ ไผ่ไชย และนายปฏิญญา พิทยานุภากร
กรณีสร้างราคาหุ้นบริษัททีดับบลิวแซด คอร์ปอร์เรชั่น จำกัด(มหาชน) (TWZ) เป็นจำนวนเงินรวม 20,635,579.57 บาท
สืบเนื่องจาก ก.ล.ต.ได้รับเรื่องจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่าตรวจสอบพบสภาพการซื้อ ขายหุ้นTWZ
ที่ผิดปกติอันเนื่องมาจากการซื้อขายของบุคคลกลุ่มหนึ่งและจากการตรวจสอบของ ก.ล.ต.
พบว่าในช่วงเวลาดังต่อไปนี้ (1) วันที่ 28กันยายน ถึงวันที่ 26 ตุลาคม 2550 (2)
วันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม2551 และ (3) วันที่ 23 มิถุนายน ถึงวันที่ 24 มิถุนายน 2551
นายอัถวุฒิและนายปฏิญญาได้ร่วมกันซื้อขายหุ้น TWZ ในลักษณะต่อเนื่องทำให้การซื้อขายหุ้นTWZผิด
ไปจากสภาพปกติของตลาดเพื่อชักจูงใจให้บุคคลทั่วไปเข้าทำการซื้อขายหุ้นดัง กล่าว
การกระทำของบุคคลทั้งสองเข้าข่ายเป็นการปฏิบัติฝ่าฝืนมาตรา 243 (2)แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบปรับนายอัถวุฒิ และนายปฏิญญา
เป็นเงิน16,071,788.32 บาท และ 4,563,791.25 บาท
ตามลำดับ เชือด ชัชพงศ์ มัญชุภา รองMD-กก.SLC ฐานอินไซต์ขายหุ้นSLC
คณะกรรมการเปรียบเทียบมีคำสั่งเปรียบเทียบปรับนายชัชพงศ์มัญชุภา รวม 2 กรณี เป็นจำนวนเงิน 1,185,785.60 บาท
โดย ก.ล.ต.ได้รับเรื่องจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและได้ตรวจสอบข้อเท็จจริง พบว่า
(1)นายชัชพงศ์ในขณะดำรงตำแหน่งรองกรรมการผู้จัดการและกรรมการของบริษัท โซลูชั่น คอนเนอร์ (1998) จำกัด
(มหาชน) (SLC) ได้ขายหุ้นSLC เมื่อวันที่ 23 กันยายน 2552โดยอาศัยข้อมูลภายในของบริษัท SLCที่รู้จาก
ตำแหน่งหน้าที่เกี่ยวกับการขายหุ้นจำนวนมากของผู้ถือหุ้นใหญ่ และผู้บริหารให้แก่ผู้ซื้อกลุ่มใหม่รวมทั้งการเปลี่ยน
โครงสร้างผู้ถือหุ้น ใหญ่และผู้บริหารของบริษัทก่อนที่ข้อมูลนั้นจะเปิดเผยต่อสาธารณะ และ
(2)นายชัชพงศ์ในฐานะรองกรรมการผู้จัดการและกรรมการของบริษัท SLCบอกกล่าว
ข้อความอันเป็นเท็จต่อตลาดหลักทรัพย์ฯ เมื่อวันที่28 กันยายน 2552 โดยชี้แจงในนามบริษัท SLCปฏิเสธข่าว
การขายหุ้น SLC ของผู้ถือหุ้นรายใหญ่และผู้บริหารโดยเจตนาให้ผู้อื่นสำคัญผิดในข้อเท็จจริง ที่มีผลกระทบราคา
ซื้อขายหุ้นSLC ทั้งที่ตนทราบข้อเท็จจริงดังกล่าวอยู่แล้วจากการปฏิบัติหน้าที่การกระทำของ นายชัชพงศ์เข้าข่าย
เป็นการขายหุ้นโดยอาศัยข้อมูลภายในที่เป็นการเอาเปรียบ ผู้ลงทุนอื่นฝ่าฝืนมาตรา 241 แห่งพระราชบัญญัติ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535และเข้าข่ายเป็นการบอกกล่าวข้อความอันเป็นเท็จโดยมีเจตนาให้ผู้อื่น
สำคัญผิดในข้อเท็จจริงเกี่ยวกับราคาซื้อขายหลักทรัพย์SLC ฝ่าฝืนมาตรา 238 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ
มีความผิดต้องระวางโทษตามมาตรา 296 แห่งพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันคณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบ
ปรับ นายชัชพงศ์ เป็นจำนวนเงิน685,785.60 บาท และ 500,000.00 บาท ตามลำดับ รวมเป็นเงิน 1,185,785.60 บาท
ศาลพิพากษาลงโทษผู้กระทำความผิดกรณีสนับสนุนการสร้างราคาหุ้น CWT
ศาล อาญามีคำพิพากษาลงโทษนายปยุฒ อนันตสิทธิกุลกรณีเป็นผู้สนับสนุนการสร้างราคาหลักทรัพย์
บริษัท ชัยวัฒนา แทนเนอรี่ กรุ๊ปจำกัด (มหาชน) โดยปรับเป็นเงิน 600,000 บาทสืบ
เนื่องจากวันที่ 10 มกราคม 2551 ก.ล.ต. ได้กล่าวโทษบุคคล 2 ราย คือ
(1)นางสาวกนกวรรณ ทิพยเทอดธนา และ (2) นายปยุฒ อนันตสิทธิกุล
กรณีสร้างราคาหุ้น CWT ระหว่างวันที่ 15 กรกฎาคม 2547 ถึงวันที่ 9 กุมภาพันธ์2548
อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 243 และมาตรา 244 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535
ประกอบมาตรา 83และมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายอาญา และพนักงานอัยการมีคำสั่งฟ้องบุคคลทั้งสอง
พร้อมทั้งได้นำตัวนายปยุฒ ยื่นฟ้องต่อศาลอาญาและอยู่ระหว่างติดตามตัวนางสาวกนกวรรณเพื่อส่งฟ้องต่อศาล
ต่อไป ต่อ มาเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2554 ศาลอาญาได้มีคำพิพากษาว่า นายปยุฒมีความผิดตามพระราชบัญญัติ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาตรา243(1) (2) มาตรา 244(2) (3) ประกอบมาตรา 86 แห่งประมวล
กฎหมายอาญาปรับเป็นเงิน 600,000 บาท
ฉาวไม่เลิก ก.ล.ต. กล่าวโทษบุคคล 4 ราย ฐานปั่นหุ้นTWZ ในช่วงปี50 -51 ต่อ DSI ก.ล.ต. กล่าวโทษ
นางสาวณัฐวดี จินดาประเสริฐ นายอัถวุฒิ ไผ่ไชย และนายปฏิญญา พิทยานุภากร ผู้ซื้อขายหุ้น
และนายนกรณ์ ธนสรกรชัชชล (หรือในขณะเกิดเหตุชื่อ นายนภดล ตู้พิทักษ์ผล)เจ้าหน้าที่การตลาดของบริษัทหลักทรัพย์
ซิกโก้ จำกัด (มหาชน)ต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษในฐานความผิดกรณีสร้างราคาหุ้น
บริษัททีดับ บลิวแซดคอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (TWZ) ในช่วงระหว่าง (1) วันที่ 28กันยายน - 26 ตุลาคม 2550 (2)
วันที่ 28 เมษายน - 15 พฤษภาคม 2551 และ (3) วันที่ 23 - 24 มิถุนายน 2551
ตาม ที่ ก.ล.ต. ได้เปิดเผยข้อมูลเมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2554 ว่าคณะกรรมการเปรียบเทียบตามพระราชบัญญัติ
หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535
มีคำสั่งเปรียบเทียบปรับนายอัถวุฒิ ไผ่ไชย และนายปฏิญญา พิทยานุภากรเป็นจำนวนเงิน 16,071,788.32 บาท
และ 4,563,791.25 บาท ตามลำดับกรณีมีส่วนรู้เห็นหรือตกลงกับบุคคลอื่นในการซื้อขายหุ้น TWZ
ใน ลักษณะสร้างราคา เพื่อชักจูงให้บุคคลทั่วไปเข้าทำการซื้อหรือขายหุ้นนั้นอันเข้าข่ายเป็นความ ผิดตามมาตรา 243 (2)
แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯประกอบมาตรา 83 แห่งประมวลกฎหมายอาญา นั้น
เนื่องจากบุคคลทั้งสองไม่ชำระค่าปรับตามคำสั่งของคณะกรรมการเปรียบเทียบ ก.ล.ต. จึงจำเป็นต้องกล่าวโทษ
นายอัถวุฒิ และนายปฏิญญา ต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษเพื่อให้สอบสวนและดำเนินคดีกับบุคคลดังกล่าว
พร้อม กันนี้ ก.ล.ต. ได้กล่าวโทษบุคคลอีก 2 ราย คือ นางสาวณัฐวดี จินดาประเสริฐ และนายนกรณ์ ธนสรกรชัชชล
ซึ่งมีพยานหลักฐานน่าเชื่อว่ามีส่วนรู้เห็นหรือตกลงในการกระทำความผิดข้าง ต้น โดยนางสาวณัฐวดีได้ร่วมกับ
นายอัถวุฒิและนายปฏิญญาซื้อขายหุ้น TWZ ในลักษณะสร้างราคาชักจูงให้บุคคลทั่วไปเข้าทำการซื้อหรือขายหุ้นส่วน
นาย นกรณ์ซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่การตลาดให้ความร่วมมือในการจัดการเกี่ยวกับระบบ อินเตอร์เน็ตที่บัญชีของ
นางสาวณัฐวดีนายอัถวุฒิ และนายปฏิญญาใช้ในการซื้อขายหุ้น TWZ ในลักษณะสร้างราคา
โดยนางสาวณัฐวดีและนายนกรณ์ไม่ยินยอมเข้ารับการเปรียบเทียบจากคณะกรรมการ เปรียบเทียบ นอก จากนี้
เนื่องจากนายนกรณ์ ธนสรกรชัชชล (หรือในขณะเกิดเหตุชื่อนายนภดล ตู้พิทักษ์ผล)มีฐานะเป็นบุคคล
ที่ได้รับความเห็นชอบให้เป็นบุคลากรในธุรกิจ ตลาดทุน การถูกก.ล.ต.กล่าวโทษด้วยเหตุกระทำการอันไม่เป็นธรรม
ในการซื้อขายหลักทรัพย์ ตามที่กล่าวข้างต้นเป็นเหตุให้นายนกรณ์เข้าข่ายมีลักษณะต้องห้ามตามประกาศ
ที่เกี่ยวข้องตลอดระยะเวลาที่ถูกกล่าวโทษดำเนินคดีและเป็นผลให้นายนกรณ์ไม่ สามารถทำหน้าที่เป็นบุคลากร
ในธุรกิจตลาดทุนได้ต่อไป อนึ่ง การกล่าวโทษเป็นจุดเริ่มต้นของการนำคดีเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางอาญาซึ่ง
ผู้ถูกกล่าวโทษยังมีสิทธิจะพิสูจน์การกระทำของตัวเองได้ต่อไป
ศาลสั่งจำคุก กิตติพัฒน์ เยาวพฤกษ์ ฐานตบแต่งบัญชี-ใช้อินไซต์เดอร์เทรดดิ้งรอยเนท
ศาล อาญากรุงเทพใต้มีคำพิพากษาลงโทษนายกิตติพัฒน์ เยาวพฤกษ์กรณีตกแต่งบัญชีเพื่อลวงบุคคลอื่น
ปกปิดรายงานการซื้อขายหลักทรัพย์และใช้ข้อมูลภายในซื้อขายหลักทรัพย์ โดยให้จำคุก 8 ปี 18 เดือนและ
ปรับ1,880,000 บาท สืบ เนื่องจากวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2546 ก.ล.ต. ได้กล่าวโทษบริษัทรอยเนทจำกัด (มหาชน)
และนายกิตติพัฒน์ เยาวพฤกษ์ กรณีตกแต่งบัญชีเพื่อลวงบุคคลอื่น ลงข้อความอันเป็นเท็จในเอกสารปกปิด
รายงานการซื้อขายหลักทรัพย์ และใช้ข้อมูลภายในในการซื้อขายหลักทรัพย์อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 300
ประกอบมาตรา 56 มาตรา 59 มาตรา 238 มาตรา 241มาตรา 246 และมาตรา 312 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์
และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 ซึ่งพนักงานอัยการได้ยื่นฟ้องต่อศาลอาญากรุงเทพใต้โดยศาลอาญากรุงเทพใต้
รับ พิจารณาเฉพาะส่วนของนายกิตติพัฒน์ เยาวพฤกษ์ ใน วันนี้ (22 มีนาคม 2554) ศาลอาญากรุงเทพใต้พิพากษาว่า
นายกิตติพัฒน์ เยาวพฤกษ์ มีความผิดตามมาตรา 300 ประกอบมาตรา 56 มาตรา 59 มาตรา 238 มาตรา241
มาตรา 246 มาตรา 274 มาตรา 275 มาตรา 296 มาตรา 298 และมาตรา 312แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์
และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ประกอบมาตรา 83แห่งประมวลกฎหมายอาญา การกระทำความผิดของจำเลย
เป็นความผิดหลายกรรมต่างกันให้ลงโทษทุกกรรมเป็น กระทงความผิด*รวมลงโทษจำคุก 16 ปี 36 เดือน
และปรับเป็นเงิน 3,760,000 บาท แต่จำเลยให้การสารภาพ มีเหตุบรรเทาโทษ จึงให้ลดโทษลงกึ่งหนึ่ง
เป็นจำคุก 8 ปี18 เดือน โดยไม่รอลงอาญา และปรับ 1,880,000 บาท * หมายเหตุ ความผิดหลายกรรมต่างกัน
ในกรณีนี้ เช่น ความผิดตามมาตรา 246 ซึ่งไม่รายงานตามที่มีหน้าที่ 9 ครั้ง ลงโทษ 9 กระทง
โดยจำคุกกระทงละ 4 เดือนรวมจำคุก 36 เดือน เมื่อลดโทษกึ่งหนึ่งจึงเป็นจำคุก 18 เดือน
(โปรดอ่านรายละเอียดการกล่าวโทษได้ที่ ข่าว ก.ล.ต. ฉบับที่ 6/2546 วันที่ 24กุมภาพันธ์ 2546)
เปิดเส้นทางนักปั่นหุ้นTRAF-SAMART-SIM-SAMTEL-RCI คณะกรรมการเปรียบเทียบมีคำสั่งเปรียบเทียบปรับ
ผู้กระทำผิดกรณีสร้างราคาหุ้น 3กรณี ได้แก่ (1) นางสาวลลนา ศิริจรรยากุล นายสิปปกร ขาวสอาด และ
นางสาวรินนภาคุณะวัฒน์สถิตย์ กรณีสร้างราคาหุ้นบริษัททราฟฟิกคอร์นเนอร์ โฮลดิ้งส์ จำกัด(มหาชน) (TRAF)
(ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัทเอ็ม พิคเจอร์สเอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) (MPIC)
และนางสาวจันทราภา วงศ์ไพบูลย์ในฐานะผู้ช่วยเหลือสนับสนุน เป็นจำนวนเงินรวม 38,148,857.59 บาท
(2) นางผ่องศรี สลักเพชร และ ม.ล. สุนทรชัย ชยางกูรกรณีสร้างราคาหุ้นของ
บริษัทสามารถ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) (SAMART)บริษัทสามารถ ไอ-โมบาย จำกัด (มหาชน) (SIM)
และบริษัทสามารถเทลคอม จำกัด(มหาชน) (SAMTEL)
รวมถึงนายสมชาย วิโมกข์เจริญสุข และนายสมรวย แซ่ลิ้มในฐานะผู้ช่วยเหลือสนับสนุน
เป็นจำนวนเงินรวม 36,605,453.69 บาท และ
(3) นายอดิเรก อุ่มบางตลาดกรณีเป็นผู้ช่วยเหลือสนับสนุนการสร้างราคาหุ้น
บริษัทโรแยล ซีรามิค อุตสาหกรรมจำกัด (มหาชน) (RCI) เป็นจำนวนเงิน 333,333.33 บาท
โดยมีรายละเอียดดังนี้
(1) กรณีสร้างราคาหุ้นบริษัททราฟฟิกคอร์นเนอร์ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)(TRAF)
ก.ล.ต. ได้รับแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่าตรวจสอบพบสภาพการซื้อขายหุ้น TRAF
ที่ผิดปกติอันเนื่องมาจากการซื้อขายของบุคคลกลุ่มหนึ่ง ซึ่งจากการตรวจสอบของก.ล.ต.
พบว่าในระหว่างวันที่ 15 พฤศจิกายน 2550 ถึงวันที่ 9 มกราคม 2551
นางสาวลลนา ศิริจรรยากุล ร่วมกับนายสิปปกร ขาวสอาดซึ่งขณะนั้นดำรงตำแหน่งกรรมการผู้จัดการฝ่ายลูกค้า
สัมพันธ์ บริษัทหลักทรัพย์เคทีบี จำกัดจัดหาบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์เพื่อใช้ส่งคำสั่งซื้อขายสร้างราคาหุ้นรวม 3บัญชี
รวมทั้งได้ตกลงรู้เห็นกับนางสาวรินนภา คุณะวัฒน์สถิตย์ในการใช้บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของนางสาวรินนภา
ในการสร้างราคาหุ้น TRAF ด้วยโดยมีพฤติกรรมสลับกันซื้อขาย ผลักดันราคา จับคู่ซื้อขายกันเองและแตกคำสั่งย่อยๆ
หลายคำสั่งในลักษณะอำพรางเพื่อให้บุคคลทั่วไปหลงผิดเกี่ยวกับปริมาณและราคา ซื้อขายหุ้นTRAF รวมทั้งซื้อขาย
ในลักษณะต่อเนื่อง ทำให้การซื้อขายหุ้น TRAFผิดไปจากสภาพปกติของตลาด เพื่อจูงใจให้นักลงทุนอื่นเข้าซื้อขายหุ้น
ดังกล่าว ส่วน การซื้อขายในบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของนางสาวรินนภาได้รับความช่วยเหลือจาก
นางสาวจันทราภาวงศ์ไพบูลย์ซึ่งขณะนั้นปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้ติดต่อกับผู้ลง ทุนของบริษัทหลักทรัพย์เค ทีบี จำกัด
เป็นผู้ส่งคำสั่งในลักษณะที่ไม่เหมาะสมการกระทำของนางสาวลลนา นายสิปปกร และนางสาวรินนภาเข้าข่าย
เป็นความผิดตามมาตรา 243 (1) ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243 (2) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ
ประกอบมาตรา 83 แห่งประมวลกฎหมายอาญา คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบปรับบุคคลทั้งสาม
เป็นจำนวน เงิน36,815,524.26 บาท 500,000 บาท และ 500,000 บาท ตามลำดับ ส่วนการกระทำของ
นางสาวจันทราภา เข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243
(1)ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243 (2)
แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ ประกอบมาตรา86 แห่งประมวลกฎหมายอาญา คณะกรรมการเปรียบเทียบ
จึงได้เปรียบเทียบปรับนางสาวจันทราภา เป็นเงิน333,333.33 บาท สำหรับในด้านการเป็นบุคลากรในธุรกิจตลาดทุน
ก.ล.ต.จะได้ดำเนินการกับนายสิปปกรและนางสาวจันทราภาต่อไป
(2) กรณีสร้างราคาหุ้นของบริษัทสามารถ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)(SAMART)
บริษัทสามารถ ไอ-โมบาย จำกัด (มหาชน) (SIM)และบริษัทสามารถเทลคอม จำกัด (มหาชน) (SAMTEL)
ก.ล.ต. ได้รับแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์ฯ ว่า ตรวจสอบพบสภาพการซื้อขายหุ้น SAMARTSIM และ SAMTEL
ที่ผิดปกติอันเนื่องมาจากการซื้อขายของบุคคลกลุ่มหนึ่งซึ่งจากการตรวจสอบของ ก.ล.ต. พบว่า
(1) หุ้น SAMART ระหว่างวันที่ 5 เมษายน2549 ถึงวันที่ 13 ตุลาคม 2549
(2) หุ้น SIM ระหว่างวันที่ 11 มกราคม 2549ถึงวันที่ 12 ธันวาคม 2549 และ
(3) หุ้น SAMTEL ระหว่างวันที่ 16 มีนาคม 2549ถึงวันที่ 19 กันยายน 2549
มีปริมาณและราคาซื้อขายเปลี่ยนแปลงไปผิดจากสภาพปกติของตลาดเนื่องจากนาง ผ่องศรีสลักเพชร
ซึ่งรู้เห็นตกลงกับ ม.ล. สุนทรชัย ชยางกูรใช้บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของ ม.ล. สุนทรชัย นายสมชาย วิโมกข์เจริญสุข
และนายสมรวย แซ่ลิ้ม ซื้อขายหุ้น SAMART หุ้น SIM และหุ้น SAMTELในลักษณะผลักดันราคาและพยุงราคาซื้อขาย
จับคู่กันเองระหว่างบัญชีใน ลักษณะอำพรางเพื่อให้บุคคลทั่วไปหลงผิดเกี่ยวกับปริมาณและราคาซื้อขายหุ้น ดังกล่าว
รวมทั้งมีพฤติกรรมซื้อขายในลักษณะต่อเนื่องที่ทำให้การซื้อขายหุ้น ผิดไปจากสภาพปกติของตลาดเพื่อชักจูงให้
บุคคลทั่วไปเข้าซื้อขายหุ้นเหล่านั้น โดยมีนายสมชายและนายสมรวยให้การช่วยเหลือสนับสนุนในการกระทำผิด
ด้วยการให้ ยืมใช้ชื่อในการเปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์และบัญชีเงินฝากธนาคารและอำนวย ความสะดวกด้านธุรกรรม
ทางการเงิน การกระทำของนางผ่องศรี และ ม.ล. สุนทรชัย เข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243 (1) ประกอบมาตรา 244
และมาตรา 243 (2) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ ประกอบมาตรา 83 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบปรับนางผ่องศรี 33,105,453.71 บาท และม.ล. สุนทรชัย 1,500,000 บาท
ส่วนการกระทำของนายสมชาย และนายสมรวยเข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243 (1) ประกอบมาตรา 244
และมาตรา 243 (2)แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ ประกอบมาตรา 86 แห่งประมวลกฎหมายอาญาคณะกรรมการ
เปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบปรับนายสมชาย และนายสมรวย รายละ 999,999.99 บาท (3) กรณีสร้างราคาหุ้น
บริษัทโรแยล ซีรามิค อุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) (RCI)ตามที่ ก.ล.ต. ได้เปิดเผยข้อมูลเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553
ว่า ก.ล.ต.ได้กล่าวโทษนายอดิเรกอุ่มบางตลาดต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษเนื่องจากนาย อดิเรกไม่ยินยอมเข้ารับการ
เปรียบเทียบอันสืบเนื่องมาจากการช่วยเหลือสนับ สนุนการกระทำผิดในการสร้างราคาหุ้นRCI เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2551
ซึ่งเข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 243 (1)ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243 (2) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ
ประกอบมาตรา86 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ต่อ มาภายหลังการกล่าวโทษ กรมสอบสวนคดีพิเศษได้แจ้งมายัง ก.ล.ต.
ว่านายอดิเรกประสงค์จะกลับเข้าสู่กระบวนการพิจารณาเปรียบเทียบความผิดตามพระ ราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯก.ล.ต.
จึงได้เสนอเรื่องต่อคณะกรรมการเปรียบเทียบเพื่อพิจารณาคณะกรรมการเปรียบ เทียบพิจารณาแล้ว มีคำสั่งเปรียบเทียบ
ปรับนายอดิเรก333,333.33 บาท ก.ล.ต. กล่าวโทษบุคคล 4 รายกรณีใช้อินไซต์เทรดหุ้น KARAT ก.ล.ต. กล่าวโทษ
นายอภิชาติ รุ่งเรืองอาชีวะ (ขณะเกิดเหตุชื่อ นายวิสิทธิ์กาญจโนภาส) นางรัชนี พานิช นายกฤษฎา กุลวิวัฒน์
และนายปรีชา ไม่ทราบนามสกุลต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ จากการที่พบพยานหลักฐานน่าเชื่อว่าบุคคลดังกล่าว
ซื้อขายหุ้นบริษัทกะรัต สุขภัณฑ์ จำกัด (มหาชน) (KARAT)โดยอาศัยข้อมูลภายในที่นายอภิชาติได้ล่วงรู้มาในฐานะ
เป็นหัวหน้าทีม ที่ปรึกษากฎหมายในการทำคำเสนอซื้อหุ้นKARAT ก่อนที่จะมีการเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวต่อประชาชน
สืบเนื่องจากผลการตรวจสอบการซื้อขายหุ้นบริษัทแกรนด์ แอสเสท ดีเวลลอปเม้นท์จำกัด (มหาชน) (GRAND)
เมื่อปี 2549 ก.ล.ต. พบพยานหลักฐานน่าเชื่อว่าในระหว่างวันที่ 15 มกราคม - 2 กรกฎาคม 2545
นายอภิชาติร่วมกับนางรัชนีนายกฤษฎา และนายปรีชา ซื้อขายหุ้น KARATผ่านบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของ
นางรัชนี บุคคลที่ใกล้ชิดกับนางรัชนีและนายกฤษฎาโดยอาศัยข้อเท็จจริงที่นายอภิชาติได้ ล่วงรู้มาจากการทำหน้าที่
เป็นหัวหน้าทีมที่ปรึกษากฎหมายของฝ่ายผู้ซื้อในการ เข้าซื้อหุ้นKARAT จากกลุ่มผู้ถือหุ้นรายใหญ่ และการทำคำ
เสนอซื้อเพื่อเพิกถอนหุ้น KARATออกจากการเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยก่อน
ที่ข้อมูลนั้นจะเปิดเผยต่อประชาชนในวันที่ 3 กรกฎาคม 2545 โดยพบว่าบัญชีที่ใช้ซื้อขายหุ้น KARAT
ที่กล่าวข้างต้นบางบัญชีเปิดขึ้นเพื่อซื้อขายหุ้น KARAT เพียงหุ้นเดียวและทุกบัญชีไม่เคยซื้อขายหุ้น KARAT
ก่อนที่นายอภิชาติจะทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษากฎหมายในธุรกรรมนี้แต่เพิ่ง จะมาซื้อขายและเพิ่มปริมาณการซื้อขาย
เป็นจำนวนมากในช่วงที่ข้อเท็จจริง เรื่องการซื้อหุ้นKARAT เพื่อครอบงำกิจการมีความชัดเจน โดยบุคคลทั้ง 4ราย
ได้ผลประโยชน์จากการซื้อขายหุ้น KARAT เป็นจำนวนเงินกว่า 10 ล้านบาท ก.ล.ต. เห็นว่าการกระทำของ
นายอภิชาติเข้าข่ายเป็นการซื้อขายหุ้นโดยอาศัยข้อมูลภาย ในที่เป็นการเอาเปรียบผู้ลงทุนอื่นฝ่าฝืนมาตรา 241
แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535มีความผิดต้องระวางโทษตามมาตรา 296
แห่งพระราชบัญญัติฉบับเดียวกันโดยนางรัชนี นายกฤษฎา และนายปรีชาเข้าข่ายเป็นผู้สนับสนุนการกระทำความผิด
มีความผิดต้องระวางโทษ ตามมาตรา 296 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ ประกอบมาตรา86 แห่งประมวลกฎหมาย
อาญา ทั้งนี้ นายอภิชาติและนางรัชนีได้ปฏิเสธข้อกล่าวหาส่วนนายกฤษฎาไม่ติดต่อเพื่อขอชี้ แจงและนายปรีชา
ไม่มีหลักฐานที่จะระบุตัวตนได้ว่าคือบุคคลใด ก.ล.ต.จึงกล่าวโทษนายอภิชาติกับพวกอีก 3 คนต่อกรมสอบสวน
คดีพิเศษ อนึ่ง การกล่าวโทษเป็นจุดเริ่มต้นของการนำคดีเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมทางอาญาซึ่งศาลจะเป็นผู้วินิจฉัย
กรณีดังกล่าวต่อไป ก.ล.ต. กล่าวโทษ ลลนา ศิริจรรยากุล กรณีสร้างราคาหุ้น TRAF ก.ล.ต. กล่าวโทษ
นางสาวลลนา ศิริจรรยากุลต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษในฐานความผิดกรณี
สร้างราคาหุ้นบริษัท ทราฟฟิกคอร์นเนอร์โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน) (TRAF)
(ปัจจุบันเปลี่ยนชื่อเป็นบริษัทเอ็มพิคเจอร์ส เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด (มหาชน) (MPIC))
ในช่วงระหว่างวันที่ 15พฤศจิกายน 2550 ถึงวันที่ 9 มกราคม 2551ตามที่ ก.ล.ต. ได้เปิดเผยข้อมูล
เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2554 ว่าคณะกรรมการเปรียบเทียบตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535
มีคำสั่งเปรียบเทียบปรับนางสาวลลนา ศิริจรรยากุล เป็นจำนวนเงิน36,815,524.26 บาท กรณี มีส่วนรู้เห็นหรือตกลง
กับบุคคลอื่นในการจัดหาและใช้บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ ของบุคคลอื่นในการซื้อขายหุ้นTRAF
ในลักษณะสร้างราคาโดยอำพรางให้บุคคลทั่วไปหลงผิดเกี่ยวกับปริมาณและราคาซื้อ ขายหุ้น TRAF
รวมทั้งซื้อขายในลักษณะต่อเนื่อง ทำให้การซื้อขายหุ้น TRAF ผิดไปจากสภาพปกติของตลาด
เพื่อจูงใจให้นักลงทุนอื่นเข้าซื้อขายหุ้นดังกล่าวซึ่งเข้าข่ายเป็นความผิด ตามมาตรา 243 (1) ประกอบมาตรา 244
และมาตรา 243 (2)แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ฯ ประกอบมาตรา 83 แห่งประมวลกฎหมายอาญา นั้น
เนื่องจากนางสาวลลนาไม่ชำระค่าปรับตามคำสั่งของคณะกรรมการเปรียบเทียบ ก.ล.ต.จึงได้กล่าวโทษนางสาวลลนา
ต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ เพื่อสอบสวนและดำเนินคดีต่อไป อนึ่ง การกล่าวโทษเป็นจุดเริ่มต้นของการนำคดีเข้าสู่
กระบวนการยุติธรรมทางอาญาซึ่ง ผู้ถูกกล่าวโทษยังมีสิทธิจะพิสูจน์การกระทำของตัวเองได้ต่อไป จากเหตุการณ์
จากคดี จากการเปรียบเทียบของ ก.ล.ต. คำถาม คือบทเรียนต่างๆที่เกิดขึ้น ทำให้บรรดานักปั่นหุ้นเกรงกลัวหรือไม่
คำตอบ คือ เปล่า ไม่กลัวแต่จะนำสิ่งที่เกิดขึ้นไป ศึกษา ประยุกต์ใช้ ให้เนียนสลับซับซ้อนมากยิ่งขึ้นกว่าเดิม
ทุกบัญชีซื้อขายหุ้นย่อมมีมูลค่าเพิ่มขึ้นด้วย เพราะความเสี่ยงเพิ่มขึ้นท่ามกลางผู้บริหารบริษัทจดทะเบียน(บางราย)
รับรู้ รับทราบพร้อมเปิดเผยแผนงาน แผนธุรกิจต่างๆให้นักปั่น นักลงทุน ให้มาร์เก็ตเมกเกอร์รับทราบ
ส่วนการจะไปดำเนินการ ไปเล่น ไปเทรด เป็นเรื่องของอินเวสเตอร์เอง
บริษัทไม่เกี่ยว หุ้นใหญ่ไม่ทุบหุ้นไม่สาดหุ้นใส่ อย่างไรก็ตาม ยิ่งทางการ ก.ล.ต. ตลาดหลักทรัพย์
คุมเข้มโบรกเกอร์ให้ความร่วมมือด้วยแล้ว ทำให้กระบวนการปั่นหุ้น ทำได้ยาก ขาใหญ่เบื่อหน่ายกับการถูกตรวจสอบ
ถูกซักถามจากผู้มีอำนาจ เบนเข็มเทรดหุ้นบิ๊กแคปสบายใจกว่า จะลาก จะทุบ จะสาด ไม่มีใครกว่า
สะท้อนได้จากเกมหุ้นบิ๊กแคปเคลื่อนไหวหวืดหวา ถ้าเครื่องตรวจสอบหุ้นผิดปกติ ไม่เอาหูไปนาเอาตาไปไร่เสียก่อน
ขาใหญ่ บางรายลดการเทรดหุ้น หันมาปล่อยกู้ให้นักลงทุนแทน โดยใช้สูตรหาดใหญ่หลายรายกระโดดเข้ารวมกลุ่ม
กับบรรดาแวลู อินเวสเตอร์ เรียกว่า ผสมพันธุ์กลายพันธุ์ไปเกือบหมด แวลูฯแต่ละกลุ่ม แต่ละก๊วน มีไอเดียเป็นของตนเอง
รูปแบบการเล่นเปลี่ยนไป ฐานใหญ่ขึ้น ปั่นหุ้นไร้ปัจจัยพื้นฐาน สูญพันธุ์ไปจากตลาดหุ้นไทย แต่ปั่นหุ้นพื้นฐาน
กำลังเฟื่องฟู ด้วยฝีมือ.....คราวนี้เราต้องมาเปิดแฟ้มคดีหุ้นปั่นฉบับปัจจัยพื้นฐาน ตลาด ก.ล.ต. พร้อมรึยัง
โดย คนกลายพันธุ์
วันที่ : 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
ข้อมูลที่ http://www.hooninside.com/news-detail.php?id=946
- ปรัชญา
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 18252
- ผู้ติดตาม: 43
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 8
กลต. สั่งปรับ'ประสงค์' คดีปั่นหุ้น'ยูนิค'กว่า 80 ล้าน
ก.ล.ต. ลงดาบสั่งปรับหนักจอมปั่น 'ประสงค์ สุวิวัฒน์ธนชัย' จำนวน 80.99 ล้านบาท
ฐานปั่นหุ้น UNIQ ดอดเปิดบัญชีซื้อขายหุ้นในสิงคโปร์ 14 บัญชี
เมื่อวันที่ 20 ส.ค. สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดเผยว่า
ได้รับแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่า พบสภาพการซื้อขายหุ้น UNIQ ผิดปกติ
อันเกิดจากคำสั่งซื้อขายหุ้น UNIQ ที่ส่งผ่านบัญชีของบริษัทหลักทรัพย์ในต่างประเทศ 2 แห่ง
(Omnibus Account) ทำให้ราคาและปริมาณของหุ้น UNIQ มีการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ตรงต่อสภาพปกติของตลาด
ซึ่งจากการตรวจสอบของ ก.ล.ต. พบว่า นายประสงค์ สุวิวัฒน์ธนชัย ได้รู้เห็นหรือตกลงให้ใช้บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์
ของนิติบุคคลต่างประเทศ 14 บัญชีที่ตนเองเป็นเจ้าของและเป็นผู้รับประโยชน์
โดยเปิดบัญชีไว้ที่ UOB Kay Hian Private Limited ประเทศสิงคโปร์ แล
ะ EFG Private Bank SA สาขาประเทศสิงคโปร์ ทำการซื้อขายหุ้น UNIQ
ในระหว่างวันที่ 20 กรกฎาคม 2552 ถึงวันที่ 7 เมษายน 2553
ในลักษณะผลักดันราคาและพยุงราคา รวมทั้งซื้อขายจับคู่กันเองระหว่างบัญชี
ทำให้ราคาปิดของหุ้น UNIQ ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 2.24 บาท ในวันที่ 17 กรกฎาคม 2552
ไปสูงสุดที่ 8.70 บาท ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2552 เพิ่มขึ้น 6.46 บาท
และปิดอยู่ที่ 4.48 บาท ในวันที่ 7 เมษายน 2553
นอกจากนี้ ปริมาณการซื้อขายเฉลี่ยต่อวันได้เพิ่มขึ้นจาก 0.21 ล้านหุ้น เป็น 14.78 ล้านหุ้น
ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวมีลักษณะเป็นการอำพรางให้บุคคลทั่วไปหลงเชื่อว่าหุ้น UNIQ
มีการซื้อขายจำนวนมากและต่อเนื่อง ทำให้ราคาหุ้นเปลี่ยนแปลงไม่สอดคล้องกับสภาพปกติของตลาด
เพื่อชักจูงให้บุคคลทั่วไปเข้ามาซื้อขายหุ้นดังกล่าวการกระทำของ
นายประสงค์ สุวิวัฒน์ธนชัย เข้าข่ายเป็นการซื้อขายหลักทรัพย์โดยสร้างราคาหุ้นทำให้บุคคลอื่นหลงเชื่อ
ฝ่าฝืนมาตรา 243(1) ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243(2) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
พ.ศ. 2535 คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบปรับนายประสงค์เป็นจำนวนเงิน 80,995,415.67 บาท
ทั้งนี้ ก.ล.ต. ขอขอบคุณ Monetary Authority of Singapore (“MAS”) และ Securities and Futures Commission, Hong Kong (“SFC”) ที่ให้ความช่วยเหลือในการรวบรวมข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องจนทำให้ ก.ล.ต. สามารถดำเนินการตามกฎหมายกับผู้กระทำผิดในกรณีนี้ได้.
ข้อมูลที่มา http://www.thairath.co.th/content/eco/284992
โดย ทีมข่าวเศรษฐกิจ
20 สิงหาคม 2555, 22:22 น.
ก.ล.ต. ลงดาบสั่งปรับหนักจอมปั่น 'ประสงค์ สุวิวัฒน์ธนชัย' จำนวน 80.99 ล้านบาท
ฐานปั่นหุ้น UNIQ ดอดเปิดบัญชีซื้อขายหุ้นในสิงคโปร์ 14 บัญชี
เมื่อวันที่ 20 ส.ค. สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดเผยว่า
ได้รับแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยว่า พบสภาพการซื้อขายหุ้น UNIQ ผิดปกติ
อันเกิดจากคำสั่งซื้อขายหุ้น UNIQ ที่ส่งผ่านบัญชีของบริษัทหลักทรัพย์ในต่างประเทศ 2 แห่ง
(Omnibus Account) ทำให้ราคาและปริมาณของหุ้น UNIQ มีการเปลี่ยนแปลงที่ไม่ตรงต่อสภาพปกติของตลาด
ซึ่งจากการตรวจสอบของ ก.ล.ต. พบว่า นายประสงค์ สุวิวัฒน์ธนชัย ได้รู้เห็นหรือตกลงให้ใช้บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์
ของนิติบุคคลต่างประเทศ 14 บัญชีที่ตนเองเป็นเจ้าของและเป็นผู้รับประโยชน์
โดยเปิดบัญชีไว้ที่ UOB Kay Hian Private Limited ประเทศสิงคโปร์ แล
ะ EFG Private Bank SA สาขาประเทศสิงคโปร์ ทำการซื้อขายหุ้น UNIQ
ในระหว่างวันที่ 20 กรกฎาคม 2552 ถึงวันที่ 7 เมษายน 2553
ในลักษณะผลักดันราคาและพยุงราคา รวมทั้งซื้อขายจับคู่กันเองระหว่างบัญชี
ทำให้ราคาปิดของหุ้น UNIQ ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 2.24 บาท ในวันที่ 17 กรกฎาคม 2552
ไปสูงสุดที่ 8.70 บาท ในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2552 เพิ่มขึ้น 6.46 บาท
และปิดอยู่ที่ 4.48 บาท ในวันที่ 7 เมษายน 2553
นอกจากนี้ ปริมาณการซื้อขายเฉลี่ยต่อวันได้เพิ่มขึ้นจาก 0.21 ล้านหุ้น เป็น 14.78 ล้านหุ้น
ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวมีลักษณะเป็นการอำพรางให้บุคคลทั่วไปหลงเชื่อว่าหุ้น UNIQ
มีการซื้อขายจำนวนมากและต่อเนื่อง ทำให้ราคาหุ้นเปลี่ยนแปลงไม่สอดคล้องกับสภาพปกติของตลาด
เพื่อชักจูงให้บุคคลทั่วไปเข้ามาซื้อขายหุ้นดังกล่าวการกระทำของ
นายประสงค์ สุวิวัฒน์ธนชัย เข้าข่ายเป็นการซื้อขายหลักทรัพย์โดยสร้างราคาหุ้นทำให้บุคคลอื่นหลงเชื่อ
ฝ่าฝืนมาตรา 243(1) ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243(2) แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
พ.ศ. 2535 คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบปรับนายประสงค์เป็นจำนวนเงิน 80,995,415.67 บาท
ทั้งนี้ ก.ล.ต. ขอขอบคุณ Monetary Authority of Singapore (“MAS”) และ Securities and Futures Commission, Hong Kong (“SFC”) ที่ให้ความช่วยเหลือในการรวบรวมข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้องจนทำให้ ก.ล.ต. สามารถดำเนินการตามกฎหมายกับผู้กระทำผิดในกรณีนี้ได้.
ข้อมูลที่มา http://www.thairath.co.th/content/eco/284992
โดย ทีมข่าวเศรษฐกิจ
20 สิงหาคม 2555, 22:22 น.
- ปรัชญา
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 18252
- ผู้ติดตาม: 43
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 9
ศาลฯ ลงโทษ 2 นักปั่นหุ้น กรณีสร้างราคา FOCUS-IFEC และ RCI
ศาลอาญาพิพากษา “สง่า สกุลเอกไพศาล ” มีความผิด กรณีสร้างราคา “โฟคัส ดีเวลลอปเม้นท์ฯ” อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ และโรแยล ซีรามิคฯ โดยสั่งลงโทษจำคุก 2 ปี และ “ไพลิน กุมุท” กรณีร่วมสร้างราคาหลักทรัพย์ FOCUS พิพากษาลงโทษจำคุก 6 เดือน โดยรอลงอาญา 2 ปี และปรับ 250,000 บาท
ศาลอาญามีคำพิพากษาว่า นายสง่า สกุลเอกไพศาล มีความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 มาตรา 243(1) (2) และ 244 กรณีสร้างราคาหลักทรัพย์บริษัท โฟคัส ดีเวลลอปเม้นท์ แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) (FOCUS) บริษัทอินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำกัด (มหาชน) (IFEC) และบริษัทโรแยล ซีรามิค อุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) (RCI) พิพากษาลงโทษจำคุก 2 ปี และ น.ส.ไพลิน กุมุท กรณีร่วมกับนายสง่าสร้างราคาหลักทรัพย์ FOCUS พิพากษาลงโทษจำคุก 6 เดือน โดยรอลงอาญา 2 ปี และปรับ 250,000 บาท
เมื่อวานนี้ (31 ต.ค.) ศาลอาญามีคำพิพากษาลงโทษผู้กระทำผิดกรณีสร้างราคาหลักทรัพย์ จำนวน 2 ราย เนื่องจากกระทำความผิดมาตรา 243 (1) (2) ประกอบมาตรา 244 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 ได้แก่ (1) นายสง่า สกุลเอกไพศาล (หรือ เฮียตี๋ เดิมชื่อนายจักรชัย หรือนายธน แซ่เจียม) กรณีซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านบัญชีของบุคคลอื่นในลักษณะสร้างราคาหลักทรัพย์ FOCUS ระหว่างวันที่ 24-25 เมษายน 2551 หลักทรัพย์ IFEC เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2551 และหลักทรัพย์ RCI เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2551 รวมความผิด 3 กระทง จำคุกกระทงละ 1 ปี รวมจำคุก 3 ปี
นอกจากนี้ ศาลอาญามีคำพิพากษาลงโทษนายสง่ากรณีปลอมลายมือชื่อของบุคคลอื่นในเอกสารการเปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์กับบริษัทหลักทรัพย์ (บล.) เพื่อใช้ในการซื้อขายหลักทรัพย์ข้างต้น จำคุก 1 ปี รวมความผิดทั้งสองกรณีจำคุก 4 ปี แต่เนื่องจากนายสง่าให้การรับสารภาพจึงลดโทษกึ่งหนึ่ง เหลือจำคุก 2 ปี (2) น.ส.ไพลิน กุมุท กรณีร่วมกับนายสง่ากระทำผิดกรณีสร้างราคาหลักทรัพย์ FOCUS เป็นความผิด 1 กระทง จำคุก 1 ปี และปรับ 500,000 บาท แต่เนื่องจาก น.ส.ไพลินให้การรับสารภาพจึงลดโทษกึ่งหนึ่ง เหลือจำคุก 6 เดือน โดยรอลงอาญา 2 ปี และปรับ 250,000 บาท
ในคดีเดียวกันนี้ ศาลได้มีคำพิพากษายกฟ้อง น.ส.นงลักษณ์ สินประเสริฐเลิศ และนายอดิเรก อุ่มบางตลาด ซึ่งในขณะเกิดเหตุเป็นผู้ติดต่อกับผู้ลงทุน บล.กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สาขาชลบุรี และ บล.เมอร์ชั่น พาร์ทเนอร์ จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งถูกฟ้องเป็นจำเลยในข้อกล่าวหาสนับสนุนนายสง่าในการกระทำความผิดข้างต้น เนื่องจากยังไม่ปรากฏข้อเท็จจริงที่ชัดเจนเพียงพอว่ามีการกระทำอันเป็นการสนับสนุนตามข้อกล่าวหา
คดีนี้ สืบเนื่องจากเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 ก.ล.ต. ได้กล่าวโทษนายสง่า กรณีสร้างราคาหลักทรัพย์ FOCUS IFEC และ RCI รวมทั้ง น.ส.นงลักษณ์ และนายอดิเรก กรณีให้การช่วยเหลือและสนับสนุนนายสง่า โดยจัดหาบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ ส่งคำสั่งซื้อขายหลักทรัพย์ และช่วยเหลือในการทำธุรกรรมทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายหลักทรัพย์ต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) โดยดีเอสไอ และพนักงานอัยการคดีพิเศษมีความเห็นสั่งฟ้องบุคคลทั้งสามราย ซึ่งกรณีนายสง่าได้เพิ่มเติมความผิดกรณีปลอมเอกสาร และใช้เอกสารปลอม เนื่องจากพบพยานหลักฐานว่า นายสง่าได้ปลอมลายมือชื่อของบุคคลอื่นในเอกสารใบคำขอเปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ บัตรตัวอย่างลายมือชื่อ สัญญาแต่งตั้งตัวแทน และ/หรือนายหน้าเพื่อซื้อขายหลักทรัพย์ของ บล.ฟาร์อีสท์ จำกัด นอกจากนี้ ได้มีความเห็นสั่งฟ้อง น.ส.ไพลินเพิ่มเติมด้วยเนื่องจากพบพยานหลักฐานว่า น.ส.ไพลินได้ร่วมกระทำความผิดกับนายสง่า โดยทำการซื้อขายหลักทรัพย์ FOCUS ในลักษณะการสร้างราคา
การดำเนินคดีนี้เป็นผลสำเร็จเกิดจากการประสานความร่วมมือและปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพของบุคลากรเจ้าของสำนวนคดี ได้แก่ พนักงานสอบสวน สำนักคดีการเงินการธนาคาร กรมสอบสวนคดีพิเศษ และพนักงานอัยการ สำนักงานคดีพิเศษ สำนักงานอัยการสูงสุด
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 1 พฤศจิกายน 2555
http://www.manager.co.th/iBizchannel/Vi ... 0000133848
ศาลอาญาพิพากษา “สง่า สกุลเอกไพศาล ” มีความผิด กรณีสร้างราคา “โฟคัส ดีเวลลอปเม้นท์ฯ” อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ และโรแยล ซีรามิคฯ โดยสั่งลงโทษจำคุก 2 ปี และ “ไพลิน กุมุท” กรณีร่วมสร้างราคาหลักทรัพย์ FOCUS พิพากษาลงโทษจำคุก 6 เดือน โดยรอลงอาญา 2 ปี และปรับ 250,000 บาท
ศาลอาญามีคำพิพากษาว่า นายสง่า สกุลเอกไพศาล มีความผิดตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 มาตรา 243(1) (2) และ 244 กรณีสร้างราคาหลักทรัพย์บริษัท โฟคัส ดีเวลลอปเม้นท์ แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) (FOCUS) บริษัทอินเตอร์ ฟาร์อีสท์ วิศวการ จำกัด (มหาชน) (IFEC) และบริษัทโรแยล ซีรามิค อุตสาหกรรม จำกัด (มหาชน) (RCI) พิพากษาลงโทษจำคุก 2 ปี และ น.ส.ไพลิน กุมุท กรณีร่วมกับนายสง่าสร้างราคาหลักทรัพย์ FOCUS พิพากษาลงโทษจำคุก 6 เดือน โดยรอลงอาญา 2 ปี และปรับ 250,000 บาท
เมื่อวานนี้ (31 ต.ค.) ศาลอาญามีคำพิพากษาลงโทษผู้กระทำผิดกรณีสร้างราคาหลักทรัพย์ จำนวน 2 ราย เนื่องจากกระทำความผิดมาตรา 243 (1) (2) ประกอบมาตรา 244 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 ได้แก่ (1) นายสง่า สกุลเอกไพศาล (หรือ เฮียตี๋ เดิมชื่อนายจักรชัย หรือนายธน แซ่เจียม) กรณีซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านบัญชีของบุคคลอื่นในลักษณะสร้างราคาหลักทรัพย์ FOCUS ระหว่างวันที่ 24-25 เมษายน 2551 หลักทรัพย์ IFEC เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2551 และหลักทรัพย์ RCI เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2551 รวมความผิด 3 กระทง จำคุกกระทงละ 1 ปี รวมจำคุก 3 ปี
นอกจากนี้ ศาลอาญามีคำพิพากษาลงโทษนายสง่ากรณีปลอมลายมือชื่อของบุคคลอื่นในเอกสารการเปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์กับบริษัทหลักทรัพย์ (บล.) เพื่อใช้ในการซื้อขายหลักทรัพย์ข้างต้น จำคุก 1 ปี รวมความผิดทั้งสองกรณีจำคุก 4 ปี แต่เนื่องจากนายสง่าให้การรับสารภาพจึงลดโทษกึ่งหนึ่ง เหลือจำคุก 2 ปี (2) น.ส.ไพลิน กุมุท กรณีร่วมกับนายสง่ากระทำผิดกรณีสร้างราคาหลักทรัพย์ FOCUS เป็นความผิด 1 กระทง จำคุก 1 ปี และปรับ 500,000 บาท แต่เนื่องจาก น.ส.ไพลินให้การรับสารภาพจึงลดโทษกึ่งหนึ่ง เหลือจำคุก 6 เดือน โดยรอลงอาญา 2 ปี และปรับ 250,000 บาท
ในคดีเดียวกันนี้ ศาลได้มีคำพิพากษายกฟ้อง น.ส.นงลักษณ์ สินประเสริฐเลิศ และนายอดิเรก อุ่มบางตลาด ซึ่งในขณะเกิดเหตุเป็นผู้ติดต่อกับผู้ลงทุน บล.กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) สาขาชลบุรี และ บล.เมอร์ชั่น พาร์ทเนอร์ จำกัด (มหาชน) ตามลำดับ ซึ่งถูกฟ้องเป็นจำเลยในข้อกล่าวหาสนับสนุนนายสง่าในการกระทำความผิดข้างต้น เนื่องจากยังไม่ปรากฏข้อเท็จจริงที่ชัดเจนเพียงพอว่ามีการกระทำอันเป็นการสนับสนุนตามข้อกล่าวหา
คดีนี้ สืบเนื่องจากเมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2553 ก.ล.ต. ได้กล่าวโทษนายสง่า กรณีสร้างราคาหลักทรัพย์ FOCUS IFEC และ RCI รวมทั้ง น.ส.นงลักษณ์ และนายอดิเรก กรณีให้การช่วยเหลือและสนับสนุนนายสง่า โดยจัดหาบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ ส่งคำสั่งซื้อขายหลักทรัพย์ และช่วยเหลือในการทำธุรกรรมทางการเงินที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายหลักทรัพย์ต่อกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดีเอสไอ) โดยดีเอสไอ และพนักงานอัยการคดีพิเศษมีความเห็นสั่งฟ้องบุคคลทั้งสามราย ซึ่งกรณีนายสง่าได้เพิ่มเติมความผิดกรณีปลอมเอกสาร และใช้เอกสารปลอม เนื่องจากพบพยานหลักฐานว่า นายสง่าได้ปลอมลายมือชื่อของบุคคลอื่นในเอกสารใบคำขอเปิดบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ บัตรตัวอย่างลายมือชื่อ สัญญาแต่งตั้งตัวแทน และ/หรือนายหน้าเพื่อซื้อขายหลักทรัพย์ของ บล.ฟาร์อีสท์ จำกัด นอกจากนี้ ได้มีความเห็นสั่งฟ้อง น.ส.ไพลินเพิ่มเติมด้วยเนื่องจากพบพยานหลักฐานว่า น.ส.ไพลินได้ร่วมกระทำความผิดกับนายสง่า โดยทำการซื้อขายหลักทรัพย์ FOCUS ในลักษณะการสร้างราคา
การดำเนินคดีนี้เป็นผลสำเร็จเกิดจากการประสานความร่วมมือและปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพของบุคลากรเจ้าของสำนวนคดี ได้แก่ พนักงานสอบสวน สำนักคดีการเงินการธนาคาร กรมสอบสวนคดีพิเศษ และพนักงานอัยการ สำนักงานคดีพิเศษ สำนักงานอัยการสูงสุด
โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ 1 พฤศจิกายน 2555
http://www.manager.co.th/iBizchannel/Vi ... 0000133848
- ปรัชญา
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 18252
- ผู้ติดตาม: 43
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 10
ศาลอุทธรณ์สั่งจำคุกน้องชาย-น้องสาว"สุริยา"คนละ12ปีคดีตกแต่งบัญชีปิคนิค
วันที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555
ศาลอุทธรณ์สั่งจำคุกน้องชาย-น้องสาว สุริยา ลาภวิสุทธิสิน คนละ 12 ปี ฐานตกแต่งบัญชีเป็นเท็จ กรรมการคนอื่นโดนหมดคนละ 5 ปี พร้อมออกหมายจับกรรมการที่หลบหนีคดี ปรับปิคนิค 6 แสน
ผู้สื่อข่าวรายงานจากศาลอาญากรุงเทพใต้ว่า เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ศาลได้อ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ คดีที่นายวัชรินทร์ ภาณุรัตน์ พนักงานอัยการสำนักงานคดีพิเศษฝ่ายคดีพิเศษ 1 (ขณะนั้น) เป็นโจทก์ฟ้อง นายธีรัชชานนท์ ลาภวิสุทธิสิน อดีตกรรมการผู้จัดการบริษัทปิคนิค คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) น.ส.สุภาพร ลาภวิสุทธิสิน รองกรรมการผู้จัดการ บริษัทปิคนิคฯ น้องชายและน้องสาวของนายสุริยา ลาภวิสุทธิสิน อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ นายอนุกูล ตั้งเรืองเกียรติ นายพิริยะ ถาวร นายเฉลิมชัย ชุบผา น.ส.นุชนาฎ ปริกสุวรรณ นายปรเมษ ละอองสุวรรณ นายทวีทรัพย์ เกริกเกียรติศักดิ์ นายกฤษณ์ โปรยเจริญ นายพินิจ พุทธศาสตร์ บริษัท โรงบรรจุแก๊สเทพารักษ์ บริษัท สังข์อ่องก๊าซ บริษัท อุตสาหกรรม เอ ซี เอส บริษัท โรงบรรจุแก๊สนครปฐม บริษัท โรงบรรจุแก๊ส แจ้งวัฒนะ 23 บริษัทลาดกระบังปิโตรเลี่ยม บริษัท โรงบรรจุแก๊สยูนิเวอร์แซล บริษัท ปทุมเกตน์ เทรดดิ้ง บริษัท บรรจุแก๊สโพรงมะเดื่อ บริษัท โรงบรรจุแก๊สธรรมศาลา บริษัท พี.ไพรส์ ซับพลายส์ แอนด์ คอนสตรัคชั่น และบริษัทปิคนิคฯ ร่วมกันเป็นจำเลยที่ 1-22 ในความผิดตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 โดยพิพากษาให้จำเลยที่ 1 และ 2 มีความผิดตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์ มาตรา 56 (1) ถึง (3) ประกอบมาตรา 312 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 91 ฐานเป็นกรรมการของบริษัท มหาชน จำกัด ร่วมกันทำหรือยินยอมให้ทำบัญชีหรือเอกสารของนิติบุคคลไม่ถูกต้องตรงความเป็นจริง หรือเป็นเท็จ เพื่อลวงบุคคลใดๆ เป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน ให้ลงโทษทุกกรรมตามประมวลกฎหมายอาญา จำคุกจำเลยที่ 1 และ 2 คนละ 6 ปี รวม 2 กระทง รวมคนละ 12 ปี
ส่วนจำเลยที่ 3-21 มีความผิดตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์มาตรา 315 ฐานกระทำการด้วยประการใดๆ อันเป็นการช่วยเหลือ หรือให้ความสะดวกแก่กรรมการซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของนิติบุคคล ลงโทษจำคุกจำเลยที่ 3-10 เป็นเวลา 5 ปี ส่วนจำเลยที่ 11-21 ลงโทษปรับบริษัทละ 6 แสนบาท และจำเลยที่ 22 มีความผิดตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์ มาตรา 56 (1) ถึง (3) ประกอบมาตรา 274 วรรคหนึ่ง ฐานเป็นบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ไม่รายงานงบการเงินเป็นไปตามหลักเกณฑ์เงื่อนและวิธีการที่คณะกรรมการกำกับตลาดทุนประกาศกำหนด ปรับจำเลยที่ 22 จำนวน 1 แสนบาท สำหรับนายปรเมษจำเลยที่ 7 ที่หลบหนีไม่มาฟังคำพิพากษาศาลมีคำสั่งให้ออกหมายจับต่อไป
สำหรับคดีนี้ เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 2547 โดยสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ได้ร้องทุกข์กล่าวโทษบริษัท ปิคนิค ว่าผู้บริหารของบริษัทได้โยกย้ายบัญชีของบริษัทเข้าบัญชีส่วนตัว และข้อหาปรับแต่งตัวเลขทางบัญชี ทั้งนี้ ศาลชั้นต้นได้พิพากษายกฟ้อง เพราะเห็นว่าจำเลยมีพยานหลักฐานที่มีเหตุผลและน้ำหนักหักล้างพยานหลักฐานของโจทก์ กระทั่งศาลอุทธรณ์ได้พิพากษากลับ
ข้อมูลที่มา http://www.matichon.co.th/news_detail.p ... =&subcatid
- ปรัชญา
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 18252
- ผู้ติดตาม: 43
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 11
จำคุกปั่นหุ้นเคเอ็มซี 'เสี่ยสอง'หนีจนรอด
ศาลพิพากษาจำคุก 2 ปี พร้อมปรับ 7 แสน"สุรีย์ หรือ รวิ สรรค์ศิริกุล และชมพูนุท ปิ่มหทัยวุฒิ"
กรณีปั่นหุ้นกฤษดามหานครช่วง 2 ม.ค.35 ถึง 7 ต.ค. 35 โทษจำคุกไม่รอการลงโทษ
ขณะที่เพื่อนร่วมขบวนการ"เสี่ยสอง-บุษกร วัชรศรีโรจน์" พร้อมพวกอีก 5 คนรอดหวุดหวิดหลังหลบหนีจนหมดอายุความ
รายงานข่าวจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือ ก.ล.ต. แจ้งว่า
เมื่อวันที่ 31 ส.ค. ที่ผ่านมา ศาลอาญากรุงเทพใต้มีคำสั่งจำคุก 2 ปีและปรับ 7 แสนบาท 2 นักลงทุนประกอบด้วย
นางชมพูนุท ปิ่มหทัยวุฒิ และนางสาวสุรีย์ หรือรวิ สรรค์ศิริกุล ในกรณีร่วมกันสร้างราคาหุ้นบริษัทกฤษดานคร จำกัด (มหาชน) หรือ KMC ระหว่างวันที่ 2 มกราคม 2535 ถึงวันที่ 7 ตุลาคม 2535 โดยโทษจำคุกไม่รอการลงโทษ
ทั้งนี้ สืบเนื่องจากเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2536 สำนักงานก.ล.ต. ได้กล่าวโทษบุคคลรวม 14 ราย
ได้แก่
(1) นายวิชัย กฤษดาธานนท์ (2) นายสุบิน แสงสุวรรณเมฆา (3) นางวิภา สุวรรณชนะ (4) นางสาวกัญญา บุรัสการ (5) นางสาวสุพรรณี พิมพ์แสง (6) นายสอง วัชรศรีโรจน์ (7) นางชมพูนุท ปิ่มหทัยวุฒิ (8) นางสาวบุษกร วัชรศรีโรจน์ (9) นายประเสริฐศักดิ์ นริพทะพันธุ์ (10) นางวรรณี คุปติพงศ์กุล (11) นางสาวสุรีย์ หรือรวิ สรรค์ศิริกุล (12) พันจ่าอากาศเอก ณรงค์ อุดมผล (13) นายสุวิทย์ วิชชาวุธ และ (14) นายวีระนนท์ ว่องไพฑูรย์ กรณีร่วมกันสร้างราคาหุ้นบริษัทกฤษดานคร จำกัด (มหาชน) หรือ KMC ระหว่างวันที่ 2 มกราคม 2535 ถึงวันที่ 7 ตุลาคม 2535
อย่างไรก็ตาม ผลสรุปของการดำเนินคดีในกรณีดังกล่าว พนักงานอัยการมีคำสั่งไม่ฟ้องบุคคลตาม (1) เนื่องจากเป็นเพียงผู้ลงลายมือชื่อในเช็คที่บุคคลตาม (2) และ (3) นำไปใช้ในการกระทำความผิด ส่วนบุคคลตาม (4) และ (5) เป็นเพียงลูกจ้างซึ่งทำตามคำสั่งของ (2) และ (3)
ขณะที่บุคคลตาม (2) และ (3) รับสารภาพในชั้นศาล ศาลได้มีคำพิพากษา เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2537 ว่ามีความผิดตามมาตรา 42 ฉ(1)(2) แห่งพระราชบัญญัติตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2517 และมาตรา 243(1)(2) และมาตรา 244 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ประกอบประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 และมาตรา 91 พิพากษาลงโทษจำคุกคนละ 1 ปี 6 เดือน และปรับคนละ 350,000 บาท โดยให้รอการลงโทษเป็นเวลาสองปี
ในส่วนของศาลได้มีคำพิพากษาบุคคลตาม (7) และ (11) เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2549 ว่ามีความผิดข้อหาเดียวกับ 2. และให้เรียงกระทงลงโทษโดยความผิดที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 2 มกราคม 2535 ถึงวันที่ 17 สิงหาคม 2535 พิพากษาลงโทษจำคุกคนละ 6 เดือน และปรับคนละ 200,000 บาท สำหรับความผิดที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 18 สิงหาคม 2535 ถึงวันที่ 7 ตุลาคม 2535 พิพากษาลงโทษจำคุกคนละ 1 ปี 6 เดือน และปรับคนละ 500,000 บาท โทษจำคุกไม่รอการลงโทษ
สำหรับบุคคลตาม (6) (8) (9) (10) (12) (13) และ (14) ได้หลบหนีและไม่สามารถจับกุมตัวมาฟ้องได้ภายในอายุความ
อนึ่งนางชมพูนุท ปิ่มหทัยวุฒิ และนางสาวสุรีย์ หรือรวิ สรรค์ศิริกุลเคยถูกกล่าวโทษในกรณีซื้อขายหุ้นธนาคารกรุงเทพพาณิชยการ จำกัด (มหาชน) หรือ BBC ในปี 2535 ในความผิดร่วมกันซื้อขายหุ้นในลักษณะอำพรางให้บุคคลทั่วไปหลงผิดรวมถึงการได้หุ้นมาโดยมิได้รายงานการได้มาและไม่ทำคำเสนอซื้อต่อผู้ถือหุ้นเป็นการทั่วไป ก่อนที่ปี 2539 คดีถึงที่สุดโดยศาลฎีกาพิพากษาตามศาลอุทธรณ์ให้ยกฟ้องบริษัทรัตนการเคหะ จำกัด (มหาชน) หรือ RR และบริษัทเงินทุนเฟิร์ท ซิตี้ อินเวสเม้นท์ จำกัด (มหาชน) หรือ FCI ฐานความผิดร่วมกันซื้อขายหุ้นในลักษณะอำพรางให้บุคคลทั่วไปหลงผิด ก่อนที่พนักงานสอบสวนเห็นควรสั่งฟ้องแต่พนักงานอัยการมีคำสั่งไม่ฟ้อง
ต่อมาปี 2540 อธิบดีกรมตำรวจเห็นชอบตามคำสั่งไม่ฟ้องจึงถือว่าเป็นคำสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี
ขณะที่ทั้ง 4 บริษัทดังกล่าวปรากฎชื่อนายสอง วัชรศรีโรจน์, นางสาวบุษกร วัชรศรีโรจน์
เป็นผู้ถูกกล่าวหาว่าสร้างราคาหุ้นทั้งหมด แต่ไม่มีคดีใดที่สามารถดำเนินดคีกับบุคคลทั้ง 2 ได้
ด้านความเคลื่อนไหวของราคาหุ้น KMC วานนี้ (4 ก.ย.) ตอบรับการสั่งจำคุก 2 นักปั่นหุ้น
โดยราคาหุ้นปิดที่ 2.84 บาท เพิ่มขึ้น 0.18 บาท หรือ 6.77% มูลค่าการซื้อขาย 53.72 ล้านบาท
ข้อมูลที่มา http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=51751
ผู้จัดการรายวัน5 กันยายน 2549
ศาลพิพากษาจำคุก 2 ปี พร้อมปรับ 7 แสน"สุรีย์ หรือ รวิ สรรค์ศิริกุล และชมพูนุท ปิ่มหทัยวุฒิ"
กรณีปั่นหุ้นกฤษดามหานครช่วง 2 ม.ค.35 ถึง 7 ต.ค. 35 โทษจำคุกไม่รอการลงโทษ
ขณะที่เพื่อนร่วมขบวนการ"เสี่ยสอง-บุษกร วัชรศรีโรจน์" พร้อมพวกอีก 5 คนรอดหวุดหวิดหลังหลบหนีจนหมดอายุความ
รายงานข่าวจากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ หรือ ก.ล.ต. แจ้งว่า
เมื่อวันที่ 31 ส.ค. ที่ผ่านมา ศาลอาญากรุงเทพใต้มีคำสั่งจำคุก 2 ปีและปรับ 7 แสนบาท 2 นักลงทุนประกอบด้วย
นางชมพูนุท ปิ่มหทัยวุฒิ และนางสาวสุรีย์ หรือรวิ สรรค์ศิริกุล ในกรณีร่วมกันสร้างราคาหุ้นบริษัทกฤษดานคร จำกัด (มหาชน) หรือ KMC ระหว่างวันที่ 2 มกราคม 2535 ถึงวันที่ 7 ตุลาคม 2535 โดยโทษจำคุกไม่รอการลงโทษ
ทั้งนี้ สืบเนื่องจากเมื่อวันที่ 22 เมษายน 2536 สำนักงานก.ล.ต. ได้กล่าวโทษบุคคลรวม 14 ราย
ได้แก่
(1) นายวิชัย กฤษดาธานนท์ (2) นายสุบิน แสงสุวรรณเมฆา (3) นางวิภา สุวรรณชนะ (4) นางสาวกัญญา บุรัสการ (5) นางสาวสุพรรณี พิมพ์แสง (6) นายสอง วัชรศรีโรจน์ (7) นางชมพูนุท ปิ่มหทัยวุฒิ (8) นางสาวบุษกร วัชรศรีโรจน์ (9) นายประเสริฐศักดิ์ นริพทะพันธุ์ (10) นางวรรณี คุปติพงศ์กุล (11) นางสาวสุรีย์ หรือรวิ สรรค์ศิริกุล (12) พันจ่าอากาศเอก ณรงค์ อุดมผล (13) นายสุวิทย์ วิชชาวุธ และ (14) นายวีระนนท์ ว่องไพฑูรย์ กรณีร่วมกันสร้างราคาหุ้นบริษัทกฤษดานคร จำกัด (มหาชน) หรือ KMC ระหว่างวันที่ 2 มกราคม 2535 ถึงวันที่ 7 ตุลาคม 2535
อย่างไรก็ตาม ผลสรุปของการดำเนินคดีในกรณีดังกล่าว พนักงานอัยการมีคำสั่งไม่ฟ้องบุคคลตาม (1) เนื่องจากเป็นเพียงผู้ลงลายมือชื่อในเช็คที่บุคคลตาม (2) และ (3) นำไปใช้ในการกระทำความผิด ส่วนบุคคลตาม (4) และ (5) เป็นเพียงลูกจ้างซึ่งทำตามคำสั่งของ (2) และ (3)
ขณะที่บุคคลตาม (2) และ (3) รับสารภาพในชั้นศาล ศาลได้มีคำพิพากษา เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2537 ว่ามีความผิดตามมาตรา 42 ฉ(1)(2) แห่งพระราชบัญญัติตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2517 และมาตรา 243(1)(2) และมาตรา 244 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ประกอบประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 83 และมาตรา 91 พิพากษาลงโทษจำคุกคนละ 1 ปี 6 เดือน และปรับคนละ 350,000 บาท โดยให้รอการลงโทษเป็นเวลาสองปี
ในส่วนของศาลได้มีคำพิพากษาบุคคลตาม (7) และ (11) เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2549 ว่ามีความผิดข้อหาเดียวกับ 2. และให้เรียงกระทงลงโทษโดยความผิดที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 2 มกราคม 2535 ถึงวันที่ 17 สิงหาคม 2535 พิพากษาลงโทษจำคุกคนละ 6 เดือน และปรับคนละ 200,000 บาท สำหรับความผิดที่เกิดขึ้นระหว่างวันที่ 18 สิงหาคม 2535 ถึงวันที่ 7 ตุลาคม 2535 พิพากษาลงโทษจำคุกคนละ 1 ปี 6 เดือน และปรับคนละ 500,000 บาท โทษจำคุกไม่รอการลงโทษ
สำหรับบุคคลตาม (6) (8) (9) (10) (12) (13) และ (14) ได้หลบหนีและไม่สามารถจับกุมตัวมาฟ้องได้ภายในอายุความ
อนึ่งนางชมพูนุท ปิ่มหทัยวุฒิ และนางสาวสุรีย์ หรือรวิ สรรค์ศิริกุลเคยถูกกล่าวโทษในกรณีซื้อขายหุ้นธนาคารกรุงเทพพาณิชยการ จำกัด (มหาชน) หรือ BBC ในปี 2535 ในความผิดร่วมกันซื้อขายหุ้นในลักษณะอำพรางให้บุคคลทั่วไปหลงผิดรวมถึงการได้หุ้นมาโดยมิได้รายงานการได้มาและไม่ทำคำเสนอซื้อต่อผู้ถือหุ้นเป็นการทั่วไป ก่อนที่ปี 2539 คดีถึงที่สุดโดยศาลฎีกาพิพากษาตามศาลอุทธรณ์ให้ยกฟ้องบริษัทรัตนการเคหะ จำกัด (มหาชน) หรือ RR และบริษัทเงินทุนเฟิร์ท ซิตี้ อินเวสเม้นท์ จำกัด (มหาชน) หรือ FCI ฐานความผิดร่วมกันซื้อขายหุ้นในลักษณะอำพรางให้บุคคลทั่วไปหลงผิด ก่อนที่พนักงานสอบสวนเห็นควรสั่งฟ้องแต่พนักงานอัยการมีคำสั่งไม่ฟ้อง
ต่อมาปี 2540 อธิบดีกรมตำรวจเห็นชอบตามคำสั่งไม่ฟ้องจึงถือว่าเป็นคำสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้องคดี
ขณะที่ทั้ง 4 บริษัทดังกล่าวปรากฎชื่อนายสอง วัชรศรีโรจน์, นางสาวบุษกร วัชรศรีโรจน์
เป็นผู้ถูกกล่าวหาว่าสร้างราคาหุ้นทั้งหมด แต่ไม่มีคดีใดที่สามารถดำเนินดคีกับบุคคลทั้ง 2 ได้
ด้านความเคลื่อนไหวของราคาหุ้น KMC วานนี้ (4 ก.ย.) ตอบรับการสั่งจำคุก 2 นักปั่นหุ้น
โดยราคาหุ้นปิดที่ 2.84 บาท เพิ่มขึ้น 0.18 บาท หรือ 6.77% มูลค่าการซื้อขาย 53.72 ล้านบาท
ข้อมูลที่มา http://info.gotomanager.com/news/details.aspx?id=51751
ผู้จัดการรายวัน5 กันยายน 2549
- ปรัชญา
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 18252
- ผู้ติดตาม: 43
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 12
ปิดคดีหุ้นทีพีไอ อัยการไม่ฎีกา ประชัยพ้นมลทิน
"ประชัย เลี่ยวไพรัตน์" รอดพ้นจากคดีปั่นหุ้นทีพีไอฯ ที่หากผิดจริงต้องจำคุก 3 ปี และเสียค่าปรับ 6.9 พันล้านบาทแล้ว หลังอธิบดีอัยการสำนักงานศาลสูงมีคำสั่งไม่ฎีกา และอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษไม่แย้งคำสั่งฎีกา เมื่อ 18 พ.ย.ที่ผ่านมา ถือว่าคดีสิ้นสุด...
เมื่อวันที่ 22 พ.ย. นายประทีป เลี่ยวไพรัตน์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำกัด (มหาชน) หรือ TPIPL แจ้งตลาดหลักทรัพย์ว่า ตามที่พนักงานอัยการ สำนักงานอัยการพิเศษ 1 สำนักอัยการสูงสุด ได้ยื่นฟ้อง บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำกัด (มหาชน) โดยนายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ และนายชัยณรงค์ แต้ไพสิฐพงษ์ กับพวกรวม 4 คน ต่อศาลอาญา ข้อหาทำการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ก่อนวันที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนมีผลบังคับ และต่อมาศาลอุทธรณ์ได้พิพากษายกฟ้องจำเลยทั้งสี่ เพราะมิได้กระทำความผิด เมื่อวันที่ 26 พ.ค. 2554 นั้น ขณะนี้บริษัทได้รับแจ้งจากสำนักงานอัยการพิเศษ ฝ่ายคดีพิเศษ 1 สำนักงานอัยการสูงสุดว่า อธิบดีอัยการสำนักงานศาลสูงมีคำสั่งไม่ฎีกา และอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษไม่แย้งคำสั่งฎีกา เมื่อวันที่ 18 พ.ย. 2554 คดีจึงถึงที่สุด
ดังนั้น รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด ต่องบการเงินระหว่างกาล สำหรับงวด 3 เดือนและ 9 เดือนสุดสุดวันที่ 30 ก.ย. 2554 ถึงความไม่แน่นอนของคดีดังกล่าวจึงหมดไป เนื่องจากคดีถึงที่สุดแล้ว
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า คดีนี้บริษัททีพีไอโพลีน และนายประชัยกับพวกถูกฟ้องในข้อหาทำการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ก่อนวันที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนมีผลบังคับ ทำให้บุคคลอื่นเข้าใจว่าหลักทรัพย์ใดจะมีราคาสูงขึ้น หรือลดลง (ปั่นหุ้น) และร่วมกันกระทำการใดๆ อันเป็นการช่วยเหลือ หรือให้ความสะดวกแก่ผู้รับผิดชอบในการดำเนินกิจการของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ อันเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์ปี 35 ม.77 และ 239 และประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ซึ่งศาลชั้นต้นมีคำสั่งปรับบริษัททีพีไอโพลีน เป็นเงิน 6,900 ล้านบาทและสั่งจำคุกนายประชัยเป็นเวลา 3 ปี โดยไม่รอลงอาญา ต่อมาศาลอุทธรณ์ได้พิพากษายกฟ้องทั้งหมด.
ข้อมูลที่มา http://www.thairath.co.th/content/eco/218439
โดย ไทยรัฐออนไลน์
22 พฤศจิกายน 2554
"ประชัย เลี่ยวไพรัตน์" รอดพ้นจากคดีปั่นหุ้นทีพีไอฯ ที่หากผิดจริงต้องจำคุก 3 ปี และเสียค่าปรับ 6.9 พันล้านบาทแล้ว หลังอธิบดีอัยการสำนักงานศาลสูงมีคำสั่งไม่ฎีกา และอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษไม่แย้งคำสั่งฎีกา เมื่อ 18 พ.ย.ที่ผ่านมา ถือว่าคดีสิ้นสุด...
เมื่อวันที่ 22 พ.ย. นายประทีป เลี่ยวไพรัตน์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำกัด (มหาชน) หรือ TPIPL แจ้งตลาดหลักทรัพย์ว่า ตามที่พนักงานอัยการ สำนักงานอัยการพิเศษ 1 สำนักอัยการสูงสุด ได้ยื่นฟ้อง บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำกัด (มหาชน) โดยนายประชัย เลี่ยวไพรัตน์ และนายชัยณรงค์ แต้ไพสิฐพงษ์ กับพวกรวม 4 คน ต่อศาลอาญา ข้อหาทำการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ก่อนวันที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนมีผลบังคับ และต่อมาศาลอุทธรณ์ได้พิพากษายกฟ้องจำเลยทั้งสี่ เพราะมิได้กระทำความผิด เมื่อวันที่ 26 พ.ค. 2554 นั้น ขณะนี้บริษัทได้รับแจ้งจากสำนักงานอัยการพิเศษ ฝ่ายคดีพิเศษ 1 สำนักงานอัยการสูงสุดว่า อธิบดีอัยการสำนักงานศาลสูงมีคำสั่งไม่ฎีกา และอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษไม่แย้งคำสั่งฎีกา เมื่อวันที่ 18 พ.ย. 2554 คดีจึงถึงที่สุด
ดังนั้น รายงานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด ต่องบการเงินระหว่างกาล สำหรับงวด 3 เดือนและ 9 เดือนสุดสุดวันที่ 30 ก.ย. 2554 ถึงความไม่แน่นอนของคดีดังกล่าวจึงหมดไป เนื่องจากคดีถึงที่สุดแล้ว
ผู้สื่อข่าวรายงานว่า คดีนี้บริษัททีพีไอโพลีน และนายประชัยกับพวกถูกฟ้องในข้อหาทำการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพย์ก่อนวันที่แบบแสดงรายการข้อมูลการเสนอขายหลักทรัพย์และร่างหนังสือชี้ชวนมีผลบังคับ ทำให้บุคคลอื่นเข้าใจว่าหลักทรัพย์ใดจะมีราคาสูงขึ้น หรือลดลง (ปั่นหุ้น) และร่วมกันกระทำการใดๆ อันเป็นการช่วยเหลือ หรือให้ความสะดวกแก่ผู้รับผิดชอบในการดำเนินกิจการของบริษัทที่ออกหลักทรัพย์ อันเป็นความผิดตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์ปี 35 ม.77 และ 239 และประกาศสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ซึ่งศาลชั้นต้นมีคำสั่งปรับบริษัททีพีไอโพลีน เป็นเงิน 6,900 ล้านบาทและสั่งจำคุกนายประชัยเป็นเวลา 3 ปี โดยไม่รอลงอาญา ต่อมาศาลอุทธรณ์ได้พิพากษายกฟ้องทั้งหมด.
ข้อมูลที่มา http://www.thairath.co.th/content/eco/218439
โดย ไทยรัฐออนไลน์
22 พฤศจิกายน 2554
- ปรัชญา
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 18252
- ผู้ติดตาม: 43
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 13
ศาลคุก 2.3 ปี ปั่นหุ้นสุดแสบ ฟาดนิ่ม 117 ล.
ศาลอาญาสั่งจำคุก 2 ปี 3 เดือน ไม่รอลงอาญา
เซียนนักปั่นหุ้น อาศัยเอาเงินจาก บ.ประกันชีวิต 118 ล. ปั่นหุ้น 7 วันฟันกำไร 117 ล้าน
แล้วปกปิดไม่รายงานการซื้อขายที่มูลค่าเกิน 25% ให้ผู้ถือหุ้น-ก.ล.ต. รู้ตามกฎหมาย
ศาลชี้เป็นพฤติการณ์ทำผิดร้ายแรง กระทบเศรษฐกิจ ภัยความมั่นคงของชาติ
เมื่อวันที่ 6 มี.ค.52 ที่ศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก ศาลมีคำพิพากษา ในคดีหมายเลขดำ ที่ อ.4928/2551
ที่พนักงานอัยการสำนักงานคดีเศรษฐกิจและทรัพยากร เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง
นายเกรียงไกร ลิ้มนันทรักษ์ นักค้าหุ้น อายุ 50 ปี
เป็นจำเลย ตามความผิด พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 มาตรา 246, 247 และ 298
คดีโจทก์ฟ้องและนำสืบว่า เมื่อระหว่างวันที่ 12-28 พ.ค.42 จำเลยฝ่าฝืนไม่รายงานการได้มา หรือจำหน่ายหลักทรัพย์ ที่ทำให้ตนเป็นผู้ถือหลักทรัพย์เพิ่มขึ้นหรือลดลงรวมกันแล้ว มีจำนวนร้อยละ 5 ของหลักทรัพย์ที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกิจการ ให้สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ทราบตามกฎหมาย โดยจำเลยซื้อหุ้นและขายหุ้นของบริษัทอินเตอร์ไลฟ์ จอห์น แฮนคอค ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) หรือ INLIFE จำนวน 4-10 ล้านหุ้น รวม 3 ครั้ง ซึ่งคิดเป็น 30.73% ของจำนวนหุ้นบริษัทดังกล่าว อันเป็นการได้มาซึ่งหุ้นของกิจการ ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นเกินกว่าร้อยละ 25 ของจำนวนหลักทรัพย์ที่ได้มีการขาย อันเป็นการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ โดยไม่ได้ทำคำเสนอซื้อหุ้นต่อผู้ถือหุ้นเป็นการทั่วไป ทั้งนี้ตามประกาศของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) เหตุเกิดที่แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. จำเลยให้การรับสารภาพ ศาลจึงสั่งสืบเสาะประวัติก่อนพิพากษา
โดยศาลพิเคราะห์คำฟ้องประกอบรายงานการสืบเสาะแล้วเห็นว่า ก่อนเกิดเหตุจำเลยนำเงิน 118 ล้านบาท จากบริษัท TAC ไปซื้อหุ้น INLIFE ในนามจำเลยกับพวกจำเลย แล้วเพียงไม่กี่วันก็ขายหุ้นไปหมดในวันที่ 21-28 พ.ค.42 ได้เงินรวมประมาณ 235 ล้านบาท ได้กำไรรวม 117 ล้านบาท แล้วนำเงินที่ได้โอนคืนบริษัท TAC ส่วนกำไรโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากจำเลยและกลุ่มจำเลย จึงพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์ ฯ ตามมาตรา 246, 247 และ 298 อันเป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน ให้ลงโทษทุกกระทงความผิด
ให้จำคุกจำเลยฐานฝ่าฝืนไม่รายงานการได้มา หรือจำหน่ายหลักทรัพย์ของกิจการฯ 3 กระทงๆ ละ 1 ปี รวม 3 ปี, ฐานกระทำการใดๆ เป็นผลให้ตนได้มาหรือถือหลักทรัพย์จำนวนร้อยละ 25 ขึ้นไปโดยไม่จัดทำเสนอซื้อทั่วไป จำคุก 1 ปี 6 เดือน แต่จำเลยให้การรับสารภาพเป็นประโยชน์แก่การพิจารณา มีเหตุบรรเทาโทษลดโทษให้กึ่งหนึ่งทุกกระทงความผิด จึงให้จำคุกจำเลยทั้งสิ้น 27 เดือน และเมื่อพิเคราะห์พฤติการณ์แห่งคดีแล้ว เห็นว่าการกระทำของจำเลยทำให้ผู้ลงทุนผู้สุจริตจำนวนมาก ได้รับความเสียหายส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจการลงทุนของประเทศ เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ จึงเป็นเรื่องร้ายแรง ไม่สมควรให้รอการลงโทษจำคุกให้จำเลย
ที่ศาลอาญา ถ.รัชดาภิเษก วันที่ 6 มี.ค.52 ศาลมีคำพิพากษา ในคดีหมายเลขดำที่ อ.4928 / 2551 ที่พนักงานอัยการสำนักงานคดีเศรษฐกิจและทรัพยากร เป็นโจทก์ ยื่นฟ้อง นายเกรียงไกร ลิ้มนันทรักษ์ นักค้าหุ้น อายุ 50 ปี เป็นจำเลย ฐานกระผิด พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 มาตรา 246 , 247 และ 298 โจทก์ฟ้องระบุความผิดสรุปว่า
เมื่อระหว่างวันที่ 12 - 28 พ.ค.42 จำเลยฝ่าฝืนไม่รายงานการได้มา หรือจำหน่ายหลักทรัพย์ ที่ทำให้ตนเป็นผู้ถือหลักทรัพย์เพิ่มขึ้นหรือลดลงรวมกันแล้ว มีจำนวนร้อยละ 5 ของหลักทรัพย์ที่จำหน่าย ให้สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ทราบตามกฎหมาย โดยจำเลยซื้อและขายหุ้นของบริษัทอินเตอร์ไลฟ์ จอห์น แฮนคอคประกันชีวิต จำกัด ( มหาชน) หรือINLIFE จำนวน 4 - 10 ล้านหุ้น รวม 3 ครั้ง 30.73 เปอร์เซ็นต์ ของจำนวนหุ้นว อันเป็นการได้มาซึ่งหุ้นของกิจการ ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นเกินกว่าร้อยละ 25 ของจำนวนหลักทรัพย์ที่ได้มีการขาย อันเป็นการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ โดยไม่ได้ทำคำเสนอซื้อหุ้นต่อผู้ถือหุ้นเป็นการทั่วไป ตามประกาศของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) เหตุเกิดที่แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม
จำเลยให้การรับสารภาพ ศาลจึงสั่งสืบเสาะประวัติก่อนพิพากษา
ศาลพิเคราะห์ คำฟ้องประกอบรายงานการสืบเสาะแล้วเห็นว่า ก่อนเกิดเหตุจำเลยนำเงิน 118 ล้านบาท จากบริษัท TAC ไปซื้อหุ้น INLIFE ในนามจำเลยกับพวก ภายหลังก็ขายหุ้นทั้งหมดไปในวันที่ 21 และ 28 พ.ค.42 มูลค่า 235 ล้านบาท ได้กำไร 117 ล้านบาท แล้วนำเงินที่ได้โอนคืนบริษัท TAC ส่วนเงินกำไรโอนเข้าบัญชีเงินฝากจำเลยกับพวก ซึ่งเป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน ลงโทษทุกกระทง
พิพากษา ให้จำคุกจำเลย ฐานฝ่าฝืนไม่รายงานการได้มา หรือจำหน่ายหลักทรัพย์ ฯ 3 กระทง ๆ ละ 1 ปี รวม 3 ปี , ฐานกระทำการใด ๆ เป็นผลให้ตนได้มาหรือถือหลักทรัพย์จำนวนร้อยละ 25 ขึ้นไปโดยไม่จัดทำเสนอซื้อทั่วไป จำคุก 1 ปี 6 เดือน รวม 4 ปี 6 เดือน คำรับสารภาพเป็นประโยชน์แก่การพิจารณา ลดโทษให้กึ่งหนึ่ง คงจำคุกจำเลย 2 ปี 3 เดือน พิเคราะห์พฤติการณ์แห่งคดีแล้ว เห็นว่า การกระทำของจำเลย ทำให้ผู้ลงทุนผู้สุจริตจำนวนมาก ได้รับความเสียหายส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจการลงทุนของประเทศ เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ เป็นเรื่องร้ายแรง ไม่สมควรให้รอการลงโทษ
ข้อมูลที่มา http://regist53.blogspot.com/2009/03/23-117.html
ศาลอาญาสั่งจำคุก 2 ปี 3 เดือน ไม่รอลงอาญา
เซียนนักปั่นหุ้น อาศัยเอาเงินจาก บ.ประกันชีวิต 118 ล. ปั่นหุ้น 7 วันฟันกำไร 117 ล้าน
แล้วปกปิดไม่รายงานการซื้อขายที่มูลค่าเกิน 25% ให้ผู้ถือหุ้น-ก.ล.ต. รู้ตามกฎหมาย
ศาลชี้เป็นพฤติการณ์ทำผิดร้ายแรง กระทบเศรษฐกิจ ภัยความมั่นคงของชาติ
เมื่อวันที่ 6 มี.ค.52 ที่ศาลอาญา ถนนรัชดาภิเษก ศาลมีคำพิพากษา ในคดีหมายเลขดำ ที่ อ.4928/2551
ที่พนักงานอัยการสำนักงานคดีเศรษฐกิจและทรัพยากร เป็นโจทก์ยื่นฟ้อง
นายเกรียงไกร ลิ้มนันทรักษ์ นักค้าหุ้น อายุ 50 ปี
เป็นจำเลย ตามความผิด พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 มาตรา 246, 247 และ 298
คดีโจทก์ฟ้องและนำสืบว่า เมื่อระหว่างวันที่ 12-28 พ.ค.42 จำเลยฝ่าฝืนไม่รายงานการได้มา หรือจำหน่ายหลักทรัพย์ ที่ทำให้ตนเป็นผู้ถือหลักทรัพย์เพิ่มขึ้นหรือลดลงรวมกันแล้ว มีจำนวนร้อยละ 5 ของหลักทรัพย์ที่จำหน่ายได้แล้วทั้งหมดของกิจการ ให้สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ทราบตามกฎหมาย โดยจำเลยซื้อหุ้นและขายหุ้นของบริษัทอินเตอร์ไลฟ์ จอห์น แฮนคอค ประกันชีวิต จำกัด (มหาชน) หรือ INLIFE จำนวน 4-10 ล้านหุ้น รวม 3 ครั้ง ซึ่งคิดเป็น 30.73% ของจำนวนหุ้นบริษัทดังกล่าว อันเป็นการได้มาซึ่งหุ้นของกิจการ ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นเกินกว่าร้อยละ 25 ของจำนวนหลักทรัพย์ที่ได้มีการขาย อันเป็นการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ โดยไม่ได้ทำคำเสนอซื้อหุ้นต่อผู้ถือหุ้นเป็นการทั่วไป ทั้งนี้ตามประกาศของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) เหตุเกิดที่แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. จำเลยให้การรับสารภาพ ศาลจึงสั่งสืบเสาะประวัติก่อนพิพากษา
โดยศาลพิเคราะห์คำฟ้องประกอบรายงานการสืบเสาะแล้วเห็นว่า ก่อนเกิดเหตุจำเลยนำเงิน 118 ล้านบาท จากบริษัท TAC ไปซื้อหุ้น INLIFE ในนามจำเลยกับพวกจำเลย แล้วเพียงไม่กี่วันก็ขายหุ้นไปหมดในวันที่ 21-28 พ.ค.42 ได้เงินรวมประมาณ 235 ล้านบาท ได้กำไรรวม 117 ล้านบาท แล้วนำเงินที่ได้โอนคืนบริษัท TAC ส่วนกำไรโอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากจำเลยและกลุ่มจำเลย จึงพิพากษาว่า จำเลยมีความผิดตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์ ฯ ตามมาตรา 246, 247 และ 298 อันเป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน ให้ลงโทษทุกกระทงความผิด
ให้จำคุกจำเลยฐานฝ่าฝืนไม่รายงานการได้มา หรือจำหน่ายหลักทรัพย์ของกิจการฯ 3 กระทงๆ ละ 1 ปี รวม 3 ปี, ฐานกระทำการใดๆ เป็นผลให้ตนได้มาหรือถือหลักทรัพย์จำนวนร้อยละ 25 ขึ้นไปโดยไม่จัดทำเสนอซื้อทั่วไป จำคุก 1 ปี 6 เดือน แต่จำเลยให้การรับสารภาพเป็นประโยชน์แก่การพิจารณา มีเหตุบรรเทาโทษลดโทษให้กึ่งหนึ่งทุกกระทงความผิด จึงให้จำคุกจำเลยทั้งสิ้น 27 เดือน และเมื่อพิเคราะห์พฤติการณ์แห่งคดีแล้ว เห็นว่าการกระทำของจำเลยทำให้ผู้ลงทุนผู้สุจริตจำนวนมาก ได้รับความเสียหายส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจการลงทุนของประเทศ เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ จึงเป็นเรื่องร้ายแรง ไม่สมควรให้รอการลงโทษจำคุกให้จำเลย
ที่ศาลอาญา ถ.รัชดาภิเษก วันที่ 6 มี.ค.52 ศาลมีคำพิพากษา ในคดีหมายเลขดำที่ อ.4928 / 2551 ที่พนักงานอัยการสำนักงานคดีเศรษฐกิจและทรัพยากร เป็นโจทก์ ยื่นฟ้อง นายเกรียงไกร ลิ้มนันทรักษ์ นักค้าหุ้น อายุ 50 ปี เป็นจำเลย ฐานกระผิด พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 มาตรา 246 , 247 และ 298 โจทก์ฟ้องระบุความผิดสรุปว่า
เมื่อระหว่างวันที่ 12 - 28 พ.ค.42 จำเลยฝ่าฝืนไม่รายงานการได้มา หรือจำหน่ายหลักทรัพย์ ที่ทำให้ตนเป็นผู้ถือหลักทรัพย์เพิ่มขึ้นหรือลดลงรวมกันแล้ว มีจำนวนร้อยละ 5 ของหลักทรัพย์ที่จำหน่าย ให้สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) ทราบตามกฎหมาย โดยจำเลยซื้อและขายหุ้นของบริษัทอินเตอร์ไลฟ์ จอห์น แฮนคอคประกันชีวิต จำกัด ( มหาชน) หรือINLIFE จำนวน 4 - 10 ล้านหุ้น รวม 3 ครั้ง 30.73 เปอร์เซ็นต์ ของจำนวนหุ้นว อันเป็นการได้มาซึ่งหุ้นของกิจการ ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นเกินกว่าร้อยละ 25 ของจำนวนหลักทรัพย์ที่ได้มีการขาย อันเป็นการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ โดยไม่ได้ทำคำเสนอซื้อหุ้นต่อผู้ถือหุ้นเป็นการทั่วไป ตามประกาศของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (กลต.) เหตุเกิดที่แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม
จำเลยให้การรับสารภาพ ศาลจึงสั่งสืบเสาะประวัติก่อนพิพากษา
ศาลพิเคราะห์ คำฟ้องประกอบรายงานการสืบเสาะแล้วเห็นว่า ก่อนเกิดเหตุจำเลยนำเงิน 118 ล้านบาท จากบริษัท TAC ไปซื้อหุ้น INLIFE ในนามจำเลยกับพวก ภายหลังก็ขายหุ้นทั้งหมดไปในวันที่ 21 และ 28 พ.ค.42 มูลค่า 235 ล้านบาท ได้กำไร 117 ล้านบาท แล้วนำเงินที่ได้โอนคืนบริษัท TAC ส่วนเงินกำไรโอนเข้าบัญชีเงินฝากจำเลยกับพวก ซึ่งเป็นความผิดหลายกรรมต่างกัน ลงโทษทุกกระทง
พิพากษา ให้จำคุกจำเลย ฐานฝ่าฝืนไม่รายงานการได้มา หรือจำหน่ายหลักทรัพย์ ฯ 3 กระทง ๆ ละ 1 ปี รวม 3 ปี , ฐานกระทำการใด ๆ เป็นผลให้ตนได้มาหรือถือหลักทรัพย์จำนวนร้อยละ 25 ขึ้นไปโดยไม่จัดทำเสนอซื้อทั่วไป จำคุก 1 ปี 6 เดือน รวม 4 ปี 6 เดือน คำรับสารภาพเป็นประโยชน์แก่การพิจารณา ลดโทษให้กึ่งหนึ่ง คงจำคุกจำเลย 2 ปี 3 เดือน พิเคราะห์พฤติการณ์แห่งคดีแล้ว เห็นว่า การกระทำของจำเลย ทำให้ผู้ลงทุนผู้สุจริตจำนวนมาก ได้รับความเสียหายส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจการลงทุนของประเทศ เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติ เป็นเรื่องร้ายแรง ไม่สมควรให้รอการลงโทษ
ข้อมูลที่มา http://regist53.blogspot.com/2009/03/23-117.html
-
- Verified User
- โพสต์: 1679
- ผู้ติดตาม: 0
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 14
ข่าวปี 2554 กลต. ก่อตั้งมา 20 ปี จับปรับได้แค่ 26 คดี ทราบแล้วเปลี่ยน
ก.ล.ต.ชี้ กม.หุ้น ช่องโหว่เพียบ-ไม่สามารถเอาผิด บจ.ทุจริตได้ แฉกลโกง 2 รูปแบบ
รองเลขาธิการ ก.ล.ต.ชี้ กม.หุ้นมีช่องโหว่เพียบ ไม่สามารถเอาผิด บจ.ทุจริตได้ เผยตั้งแต่ก่อตั้งมานาน 20 ปี เชือดได้แค่ 10% พร้อม แฉกลโกง 2 รูปแบบ ทั้งผู้บริหารทำเอง และจ้างนอมินีโกง
นายชาลี จันทนยิ่งยง รองเลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต) กล่าวในการประชุมนิติศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 8 เรื่องการทุจริตคอร์รัปชันในภาครัฐและเอกชน โดยยอมรับว่า ระบบการบังคับใช้กฎหมายของไทยในการดำเนินการกับบริษัทจดทะเบียน (บจ.) ที่ทุจริต ยังไม่เข้มข้นในสายตาต่างชาติ และไม่สามารถนำผู้กระทำผิดมาลงโทษได้มากนัก
พร้อมกันนี้ รองเลขาธิการ ก.ล.ต.ได้ยกตัวอย่างในกรณีของ ก.ล.ต.ซึ่งก่อตั้งมาแล้ว 20 ปี สามารถกล่าวโทษความผิดไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้เพียง 260 คดีเท่านั้น โดยไม่รวมการเปรียบเทียบปรับ หรือเฉลี่ยเพียงเดือนละ 1 คดี ซึ่งจากทั้งหมดสามารถลงโทษได้เพียง 26 คดี หรือคิดเป็น 10% จากจำนวนคดีทั้งหมด
“มีแค่ 10% ที่สามารถเปรียบเทียบปรับได้ อีก 54% ยกฟ้องหรือต้องยุติการตรวจสอบ เพราะข้อมูลไม่เพียงพอ และอีก 36% ยังอยู่ระหว่างการดำเนินการ” นายชาลี กล่าว
ทั้งนี้ แนวทางการแก้ไขปัญหา คือ การบังคับใช้กฎหมายให้มีความเข้มแข็ง ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากกฎหมายของไทยยังมีช่องโหว่อยู่มาก
อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมาการทุจริตในบริษัทจดทะเบียนสามารถแบ่งได้เป็น 2 กรณีใหญ่ คือ การทุจริตโดยตัวผู้บริหารเอง และการติดสินบน หรือการเอื้อประโยชน์ให้ผู้อื่นทุจริตเงินบริษัท ซึ่งการทุจริตทั้ง 2 รูปแบบมีวิวัฒนาการที่แยบยลมากขึ้นเรื่อยๆ เช่น การปล่อยกู้ให้กับตัวเอง และการทำบัญชีเท็จ ซึ่งเป็นวิธีการโยกเงินออกจากบริษัทที่ง่ายที่สุด
นอกจากนี้ ยังรวมถึงการใช้นอมินีในการทุจริต ซึ่งตรวจจับได้ยากมาก ซึ่งการตรวจสอบการทุจริตในกรณีเหล่านี้ต้องอาศัยผู้ร่วมตรวจสอบหลายฝ่าย ทั้งคณะกรรมการบริษัท ผู้ตรวจสอบบัญชี ที่ปรึกษาทางการเงิน รวมถึงตัวผู้ถือหุ้นเอง ที่จำเป็นต้องเข้าร่วมประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อตรวจสอบความเป็นไปของบริษัท
value trap
- ปรัชญา
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 18252
- ผู้ติดตาม: 43
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 15
ท่านผู้สนใจ สามารถ ตรวจสอบข้อมูลย้อนหลังได้ที่่...
http://capital.sec.or.th/webapp/enforce ... ab1_sort=2
http://capital.sec.or.th/webapp/enforce ... ab1_sort=2
แนบไฟล์
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4256
- ผู้ติดตาม: 9
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 17
เสร็จแล้ว พวกเขาเหล่านั้น ก็เปลี่ยน ชือ-นามสกุล
ชุบตัว ... ใครจะไปจำได้ ... ขนาด บมจ. ในตลาด
ยังเปลี่ยนชื่อแซ่บ่อยไป จนจำไม่ได้แล้ว ว่ามาจากไหน
น่าจะมีสักกระทู้ แสดงลำดับการเปลี่ยนชื่อของ บมจ.
ในตลาด ... เป็นประวัติศาสตร์และทบทวนความจำ ...
ชุบตัว ... ใครจะไปจำได้ ... ขนาด บมจ. ในตลาด
ยังเปลี่ยนชื่อแซ่บ่อยไป จนจำไม่ได้แล้ว ว่ามาจากไหน
น่าจะมีสักกระทู้ แสดงลำดับการเปลี่ยนชื่อของ บมจ.
ในตลาด ... เป็นประวัติศาสตร์และทบทวนความจำ ...
// Stay Hungry, Stay Foolish.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
// Stay Calm, Stay Invest.
// Price is what you pay, Value is what you get.
-
- Verified User
- โพสต์: 1803
- ผู้ติดตาม: 2
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 18
ตลาดหุ้นไทยโทษบทลงโทษน้อยเกินไปครับ ถ้ามีโทษถึงติดคุก ผมว่ามันคงจะลดการเอาเปรียบลงอย่างมาก
ไม่ต้องอะไรมากแค่เรื่องข้อมูล inside ทุกวันนี้ก็ยังเห็นผู้บริหารซื้อขายหุ้นก่อนงบจะออก บางครั้งก็ใกล้มากจนน่าเกลียด และที่สำคัญคือเป็นไปในทิศทางเดียวกับงบที่จะออก
ถ้าทางสมาคมมีโอกาสได้นำเสนอทางตลาดหรือกลต. อยากให้ช่วยนำเสนอโทษที่หนักขึ้นกับผู้ที่เอาเปรียบนลท.รายย่อยด้วยครับ
ไม่ต้องอะไรมากแค่เรื่องข้อมูล inside ทุกวันนี้ก็ยังเห็นผู้บริหารซื้อขายหุ้นก่อนงบจะออก บางครั้งก็ใกล้มากจนน่าเกลียด และที่สำคัญคือเป็นไปในทิศทางเดียวกับงบที่จะออก
ถ้าทางสมาคมมีโอกาสได้นำเสนอทางตลาดหรือกลต. อยากให้ช่วยนำเสนอโทษที่หนักขึ้นกับผู้ที่เอาเปรียบนลท.รายย่อยด้วยครับ
"Become a risk taker, not a risk maker"
- ปรัชญา
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 18252
- ผู้ติดตาม: 43
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 19
ก.ล.ต.สั่งพักงานมาร์เก็ตติ้งบล.ยูโอบี
วันศุกร์, 24 มกราคม 2557 17:47
ก.ล.ต.สั่งพักงานมาร์เก็ตติ้งบล.ยูโอบี 1 เดือน
ฐานให้ข้อมูลไม่ครบถ้วนปิดสาระสำคัญ
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)
สั่งพักการให้ความเห็นชอบเป็นผู้แนะนำการลงทุนด้านหลักทรัพย์รายนายวิโรจน์ ทองบูรณะ สังกัด บล.ยูโอบี เคย์เฮียน (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) เป็นเวลา 1 เดือน ฐานให้ข้อมูลหรือคำแนะนำไม่ครบถ้วน โดยไม่เปิดเผยหรือแจ้งข้อมูลอันเป็นสาระสำคัญ ที่อาจมีผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์ของผู้ลงทุน
ก.ล.ต.ได้รับรายงานการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนของ บล.ยูโอบีและได้รับหนังสือร้องเรียนจากลูกค้าพร้อมทั้งตรวจสอบเพิ่มเติมพบว่า นายวิโรจน์ ไม่แจ้งหลักเกณฑ์ Volatile Stock ซึ่งเป็นข้อปฏิบัติเกี่ยวกับข้อมูลความเสี่ยงของหลักทรัพย์บางหลักทรัพย์ และภาระหน้าที่ในการชำระเงินค่าซื้อหลักทรัพย์ดังกล่าวให้ลูกค้าทราบก่อนที่ลูกค้าสั่งซื้อหลักทรัพย์นั้น ทำให้ลูกค้าต้องชำระเงินค่าซื้อหลักทรัพย์เร็วกว่ากำหนดชำระราคาค่าซื้อขายหลักทรัพย์ตามปกติ เพื่อไม่ให้ถูกบังคับขาย (force sale) การกระทำดังกล่าวพิจารณาได้ว่า นายวิโรจน์ให้ข้อมูลหรือคำแนะนำไม่ครบถ้วน โดยไม่เปิดเผยหรือแจ้งข้อมูลอันเป็นสาระสำคัญที่อาจมีผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์ของผู้ลงทุน
การให้ข้อมูลหรือคำแนะนำไม่ครบถ้วน เป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อ 20(2) แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุนที่ ทลธ. 3/2555 เรื่อง การให้ความเห็นชอบบุคลากรของผู้ประกอบธุรกิจเพื่อปฏิบัติหน้าที่วิเคราะห์การลงทุนและแนะนำการลงทุนลงวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2555 ก.ล.ต. จึงสั่งพักการให้ความเห็นชอบเป็นผู้แนะนำการลงทุนด้านหลักทรัพย์รายนายวิโรจน์ เป็นเวลา 1 เดือน ตั้งแต่วันที่ 24 มกราคม 2557
ข้อมูลที่มา...http://www.moneychannel.co.th/index.php ... au906.html
วันศุกร์, 24 มกราคม 2557 17:47
ก.ล.ต.สั่งพักงานมาร์เก็ตติ้งบล.ยูโอบี 1 เดือน
ฐานให้ข้อมูลไม่ครบถ้วนปิดสาระสำคัญ
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)
สั่งพักการให้ความเห็นชอบเป็นผู้แนะนำการลงทุนด้านหลักทรัพย์รายนายวิโรจน์ ทองบูรณะ สังกัด บล.ยูโอบี เคย์เฮียน (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) เป็นเวลา 1 เดือน ฐานให้ข้อมูลหรือคำแนะนำไม่ครบถ้วน โดยไม่เปิดเผยหรือแจ้งข้อมูลอันเป็นสาระสำคัญ ที่อาจมีผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์ของผู้ลงทุน
ก.ล.ต.ได้รับรายงานการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนของ บล.ยูโอบีและได้รับหนังสือร้องเรียนจากลูกค้าพร้อมทั้งตรวจสอบเพิ่มเติมพบว่า นายวิโรจน์ ไม่แจ้งหลักเกณฑ์ Volatile Stock ซึ่งเป็นข้อปฏิบัติเกี่ยวกับข้อมูลความเสี่ยงของหลักทรัพย์บางหลักทรัพย์ และภาระหน้าที่ในการชำระเงินค่าซื้อหลักทรัพย์ดังกล่าวให้ลูกค้าทราบก่อนที่ลูกค้าสั่งซื้อหลักทรัพย์นั้น ทำให้ลูกค้าต้องชำระเงินค่าซื้อหลักทรัพย์เร็วกว่ากำหนดชำระราคาค่าซื้อขายหลักทรัพย์ตามปกติ เพื่อไม่ให้ถูกบังคับขาย (force sale) การกระทำดังกล่าวพิจารณาได้ว่า นายวิโรจน์ให้ข้อมูลหรือคำแนะนำไม่ครบถ้วน โดยไม่เปิดเผยหรือแจ้งข้อมูลอันเป็นสาระสำคัญที่อาจมีผลกระทบต่อสิทธิประโยชน์ของผู้ลงทุน
การให้ข้อมูลหรือคำแนะนำไม่ครบถ้วน เป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อ 20(2) แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุนที่ ทลธ. 3/2555 เรื่อง การให้ความเห็นชอบบุคลากรของผู้ประกอบธุรกิจเพื่อปฏิบัติหน้าที่วิเคราะห์การลงทุนและแนะนำการลงทุนลงวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2555 ก.ล.ต. จึงสั่งพักการให้ความเห็นชอบเป็นผู้แนะนำการลงทุนด้านหลักทรัพย์รายนายวิโรจน์ เป็นเวลา 1 เดือน ตั้งแต่วันที่ 24 มกราคม 2557
ข้อมูลที่มา...http://www.moneychannel.co.th/index.php ... au906.html
- ปรัชญา
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 18252
- ผู้ติดตาม: 43
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 20
***ก.ล.ต.ฟันนักลงทุน11 ราย ร่วมปั่นหุ้น MILL
วันพุธ, 19 มีนาคม 2557 17:40
ก.ล.ต.สั่งปรับนักลงทุน 11 ราย ฐานร่วมกันสร้างราคาหุ้น MILL ในเวลาแค่เดือนเดียวดันหุ้นพุ่งขึ้นถึง 64.63% จูงใจให้นักลงทุนรายอื่นโดดร่วมวงเข้าเทรด
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดเผยกรณีคณะกรรมการเปรียบเทียบมีคำสั่งเปรียบเทียบ
(1) นางสาวธนิกา ตั้งพูนผลวิวัฒน์
(2) นายธีระศักดิ์ ตั้งพูนผลวิวัฒน์
(3) นางสาวปรีชญา ทีฆาสุรัตน์ (ขณะเกิดเหตุนามสกุล วงศ์ไพฑูรย์ปิยะ)
(4) นายสุพร บุญทรง
(5) นายสราวุฒิ ลีละศรชัย
(6) นางสาวณัฐธยาน์ โชคอุดมนิรันดร์
(7) นายนนทสรณ์ ด่านตระกูล
(8) นายสามารถ จิตติพัฒนกุลชัย
(9) นายตวงวุฒิ ปัญญาดิลก
(10) นางสาวรุ่งระภี ชากิจดี และ
(11) นางสาวอโนมา เอี่ยมรักษาวงศ์
กรณีสร้างราคาหุ้นบมจ. มิลล์คอนสตีลอินดัสทรีส์ (MILL) เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 11,962,385.44 บาท
ทั้งนี้ ก.ล.ต. ได้รับแจ้งเรื่องจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และตรวจสอบพบว่า
ปริมาณและราคาซื้อขายหุ้น MILL ที่ผิดปกติอันเนื่องมาจากการซื้อขายของบุคคลกลุ่มหนึ่ง
ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม ถึงวันที่ 26 สิงหาคม 2552 เกิดจากนางสาวธนิกา นายธีระศักดิ์ นางสาวปรีชญา
นายสุพร นายสราวุฒิ นางสาวณัฐธยาน์ นายนนทสรณ์ นายสามารถ นายตวงวุฒิ นางสาวรุ่งระภี และนางสาวอโนมา
ได้รู้เห็นหรือตกลงร่วมกันใช้บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของตนเองและบุคคลในกลุ่ม ซื้อขายหุ้น MILL
ในลักษณะผลักดันราคา ควบคุมราคา ทำราคาเปิด ราคาปิด รวมทั้งจับคู่กันเองระหว่างบัญชี ในลักษณะอำพราง
เพื่อให้บุคคลทั่วไปหลงผิดว่ามีการซื้อขายหุ้น MILL กันมากหรือราคาหุ้น MILL เปลี่ยนแปลงไป
รวมทั้งซื้อขายต่อเนื่อง เพื่อชักจูงให้บุคคลทั่วไปซื้อขายหุ้นดังกล่าว เป็นผลให้การซื้อขายหุ้น MILL
ผิดไปจากสภาพปกติของตลาด โดยราคาปิดของหุ้น MILL ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 4.92 บาทต่อหุ้น
ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2552 มาปิดที่ 8.10 บาทต่อหุ้นในวันที่ 26 สิงหาคม 2552 เพิ่มขึ้น 3.18 บาท
คิดเป็นร้อยละ 64.63 และปริมาณการซื้อขายเฉลี่ยต่อวันเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจาก 0.63 ล้านหุ้น เป็น 6.77 ล้านหุ้น
เพิ่มขึ้น 6.14 ล้านหุ้นคิดเป็นร้อยละ 975.28
สำหรับการกระทำของบุคคลทั้ง 11 รายข้างต้น เป็นความผิดตามมาตรา 243(1) ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243(2)
แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ประกอบมาตรา 83 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบปรับนางสาวธนิกา นายธีระศักดิ์ นางสาวปรีชญา นายสุพร นายนนทสรณ์ นายสามารถ
และนางสาวรุ่งระภี เป็นเงินรายละ 500,000 บาท และเปรียบเทียบปรับนางสาวอโนมา นางสาวณัฐธยาน์ นายสราวุฒิ และนายตวงวุฒิ
เป็นเงิน 4,165,509.06 บาท 2,093,182.82 บาท 1,651,525.98 บาท และ 552,167.58 บาท ตามลำดับ
วันพุธ, 19 มีนาคม 2557 17:40
ก.ล.ต.สั่งปรับนักลงทุน 11 ราย ฐานร่วมกันสร้างราคาหุ้น MILL ในเวลาแค่เดือนเดียวดันหุ้นพุ่งขึ้นถึง 64.63% จูงใจให้นักลงทุนรายอื่นโดดร่วมวงเข้าเทรด
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดเผยกรณีคณะกรรมการเปรียบเทียบมีคำสั่งเปรียบเทียบ
(1) นางสาวธนิกา ตั้งพูนผลวิวัฒน์
(2) นายธีระศักดิ์ ตั้งพูนผลวิวัฒน์
(3) นางสาวปรีชญา ทีฆาสุรัตน์ (ขณะเกิดเหตุนามสกุล วงศ์ไพฑูรย์ปิยะ)
(4) นายสุพร บุญทรง
(5) นายสราวุฒิ ลีละศรชัย
(6) นางสาวณัฐธยาน์ โชคอุดมนิรันดร์
(7) นายนนทสรณ์ ด่านตระกูล
(8) นายสามารถ จิตติพัฒนกุลชัย
(9) นายตวงวุฒิ ปัญญาดิลก
(10) นางสาวรุ่งระภี ชากิจดี และ
(11) นางสาวอโนมา เอี่ยมรักษาวงศ์
กรณีสร้างราคาหุ้นบมจ. มิลล์คอนสตีลอินดัสทรีส์ (MILL) เป็นจำนวนเงินทั้งสิ้น 11,962,385.44 บาท
ทั้งนี้ ก.ล.ต. ได้รับแจ้งเรื่องจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และตรวจสอบพบว่า
ปริมาณและราคาซื้อขายหุ้น MILL ที่ผิดปกติอันเนื่องมาจากการซื้อขายของบุคคลกลุ่มหนึ่ง
ระหว่างวันที่ 24 กรกฎาคม ถึงวันที่ 26 สิงหาคม 2552 เกิดจากนางสาวธนิกา นายธีระศักดิ์ นางสาวปรีชญา
นายสุพร นายสราวุฒิ นางสาวณัฐธยาน์ นายนนทสรณ์ นายสามารถ นายตวงวุฒิ นางสาวรุ่งระภี และนางสาวอโนมา
ได้รู้เห็นหรือตกลงร่วมกันใช้บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของตนเองและบุคคลในกลุ่ม ซื้อขายหุ้น MILL
ในลักษณะผลักดันราคา ควบคุมราคา ทำราคาเปิด ราคาปิด รวมทั้งจับคู่กันเองระหว่างบัญชี ในลักษณะอำพราง
เพื่อให้บุคคลทั่วไปหลงผิดว่ามีการซื้อขายหุ้น MILL กันมากหรือราคาหุ้น MILL เปลี่ยนแปลงไป
รวมทั้งซื้อขายต่อเนื่อง เพื่อชักจูงให้บุคคลทั่วไปซื้อขายหุ้นดังกล่าว เป็นผลให้การซื้อขายหุ้น MILL
ผิดไปจากสภาพปกติของตลาด โดยราคาปิดของหุ้น MILL ปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 4.92 บาทต่อหุ้น
ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2552 มาปิดที่ 8.10 บาทต่อหุ้นในวันที่ 26 สิงหาคม 2552 เพิ่มขึ้น 3.18 บาท
คิดเป็นร้อยละ 64.63 และปริมาณการซื้อขายเฉลี่ยต่อวันเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นจาก 0.63 ล้านหุ้น เป็น 6.77 ล้านหุ้น
เพิ่มขึ้น 6.14 ล้านหุ้นคิดเป็นร้อยละ 975.28
สำหรับการกระทำของบุคคลทั้ง 11 รายข้างต้น เป็นความผิดตามมาตรา 243(1) ประกอบมาตรา 244 และมาตรา 243(2)
แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 ประกอบมาตรา 83 แห่งประมวลกฎหมายอาญา
คณะกรรมการเปรียบเทียบจึงได้เปรียบเทียบปรับนางสาวธนิกา นายธีระศักดิ์ นางสาวปรีชญา นายสุพร นายนนทสรณ์ นายสามารถ
และนางสาวรุ่งระภี เป็นเงินรายละ 500,000 บาท และเปรียบเทียบปรับนางสาวอโนมา นางสาวณัฐธยาน์ นายสราวุฒิ และนายตวงวุฒิ
เป็นเงิน 4,165,509.06 บาท 2,093,182.82 บาท 1,651,525.98 บาท และ 552,167.58 บาท ตามลำดับ
-
- Verified User
- โพสต์: 567
- ผู้ติดตาม: 0
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 22
ข้อมูลการเปลี่น Ticker การซื้อขายของบริษัท เสียดายไม่มีชื่อบริษัทเดิมด้วย
ดึงมาจากใน Set Smart ครับ
ดึงมาจากใน Set Smart ครับ
แนบไฟล์
- changename_excel.zip
- (21.5 KiB) ดาวน์โหลด 135 ครั้ง
- ปรัชญา
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 18252
- ผู้ติดตาม: 43
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 23
ก.ล.ต. สั่งพักงานมาร์เก็ตติ้ง 2 ราย
วันพฤหัสบดี, 27 มีนาคม 2557 17:31
ก.ล.ต. สั่งพักงานมาร์เก็ตติ้ง 2 ราย ของ บล.กรุงศรี และ บล.ยูโอบี เหตุซื้อขายหลักทรัพย์แทนผู้ลงทุน
ก.ล.ต. สั่งพักการให้ความเห็นชอบเป็นผู้แนะนำการลงทุนด้านตลาดทุนรายนายวีรชัย ศิริบุญเรืองวงศ์
ขณะกระทำผิดสังกัดบริษัทหลักทรัพย์ ยูโอบี เคย์เฮียน (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) (บล. ยูโอบี) และ
นายฐิติพงศ์ วงศ์เหลือง สังกัดบริษัทหลักทรัพย์ กรุงศรี จำกัด (มหาชน) (บล. กรุงศรี)
เนื่องจากรับมอบหมายจากผู้ลงทุนในการตัดสินใจซื้อขายหลักทรัพย์แทนผู้ลงทุน
ก.ล.ต. ตรวจสอบการดำเนินงานตามปกติของ บล.ยูโอบี พบว่า
นายวีรชัย รับมอบหมายจากผู้ลงทุนในการตัดสินใจซื้อขายหลักทรัพย์แทนผู้ลงทุน
โดยพบบทสนทนาในลักษณะที่ลูกค้ามอบหมายให้นายวีรชัยตัดสินใจซื้อขายหลักทรัพย์แทน
โดยนายวีรชัยรายงานผลการซื้อขายหลักทรัพย์ที่ได้ดำเนินการไปแล้วให้ลูกค้าทราบทางโทรศัพท์
ซึ่งหลายรายการไม่ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับราคาและจำนวนหลักทรัพย์บางรายการลูกค้าอนุญาต
ให้นายวีรชัยตัดสินใจซื้อขายแทนและลูกค้าตอบรับตามที่นายวีรชัยเสนอ
โดยสิ้นวันนายวีรชัยจะรายงานจำนวนเงินที่ได้รับหรือต้องชำระ
ซึ่งลูกค้าไม่เคยโต้แย้งหรือปฏิเสธรายการ
กรณีนายฐิติพงศ์ ก.ล.ต. ได้รับรายงานการลงโทษผู้แนะนำการลงทุน ของ บล. กรุงศรี พ
ร้อมทั้งตรวจสอบเพิ่มเติมพบว่า นายฐิติพงศ์รับมอบหมายจากผู้ลงทุนในการตัดสินใจ
ซื้อขายหลักทรัพย์แทนผู้ลงทุน โดยพบบทสนทนาในลักษณะที่ลูกค้ายินยอมให้
ายฐิติพงศ์สั่งซื้อขายหลักทรัพย์ในบัญชีหลักทรัพย์ของลูกค้า และนายฐิติพงศ์ได้ตัดสินใจ
สั่งซื้อขายหลักทรัพย์แล้วรายงานให้ลูกค้าทราบโดยลูกค้าไม่ปฏิเสธรายการซื้อขาย
รวมทั้งพบว่าบางวันมีรายการซื้อขายหลักทรัพย์ แต่นายฐิติพงศ์ไม่รายงานให้ลูกค้าทราบอย่างครบถ้วน
การรับมอบหมายจากผู้ลงทุนในการตัดสินใจซื้อขายหลักทรัพย์แทนผู้ลงทุน
เป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อ 20(2) แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุนที่ ทลธ. 3/2555
เรื่อง การให้ความเห็นชอบบุคลากรของ
ผู้ประกอบธุรกิจเพื่อปฏิบัติหน้าที่วิเคราะห์การลงทุนและแนะนำการลงทุน
ลงวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2555 ก.ล.ต. จึงสั่งพักการให้ความเห็นชอบเป็นผู้แนะนำการลงทุน
ด้านตลาดทุนรายนายวีรชัย เป็นเวลา 3 เดือน ตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม 2557
และนายฐิติพงศ์ เป็นเวลา 1 เดือน แต่เมื่อคำนึงถึงกรณีที่ บล.กรุงศรี
ได้ลงโทษพักการปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้แนะนำการลงทุนของนายฐิติพงศ์ไปแล้วเป็นเวลา 15 วัน
จึงกำหนดระยะเวลาพักการให้ความเห็นชอบเป็นผู้แนะนำการลงทุนด้านตลาดทุนของ
นายฐิติพงศ์ตามคำสั่งของ ก.ล.ต. อีกเป็นเวลา 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม 2557
http://www.moneychannel.co.th/index.php ... gh188.html
วันพฤหัสบดี, 27 มีนาคม 2557 17:31
ก.ล.ต. สั่งพักงานมาร์เก็ตติ้ง 2 ราย ของ บล.กรุงศรี และ บล.ยูโอบี เหตุซื้อขายหลักทรัพย์แทนผู้ลงทุน
ก.ล.ต. สั่งพักการให้ความเห็นชอบเป็นผู้แนะนำการลงทุนด้านตลาดทุนรายนายวีรชัย ศิริบุญเรืองวงศ์
ขณะกระทำผิดสังกัดบริษัทหลักทรัพย์ ยูโอบี เคย์เฮียน (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน) (บล. ยูโอบี) และ
นายฐิติพงศ์ วงศ์เหลือง สังกัดบริษัทหลักทรัพย์ กรุงศรี จำกัด (มหาชน) (บล. กรุงศรี)
เนื่องจากรับมอบหมายจากผู้ลงทุนในการตัดสินใจซื้อขายหลักทรัพย์แทนผู้ลงทุน
ก.ล.ต. ตรวจสอบการดำเนินงานตามปกติของ บล.ยูโอบี พบว่า
นายวีรชัย รับมอบหมายจากผู้ลงทุนในการตัดสินใจซื้อขายหลักทรัพย์แทนผู้ลงทุน
โดยพบบทสนทนาในลักษณะที่ลูกค้ามอบหมายให้นายวีรชัยตัดสินใจซื้อขายหลักทรัพย์แทน
โดยนายวีรชัยรายงานผลการซื้อขายหลักทรัพย์ที่ได้ดำเนินการไปแล้วให้ลูกค้าทราบทางโทรศัพท์
ซึ่งหลายรายการไม่ปรากฏรายละเอียดเกี่ยวกับราคาและจำนวนหลักทรัพย์บางรายการลูกค้าอนุญาต
ให้นายวีรชัยตัดสินใจซื้อขายแทนและลูกค้าตอบรับตามที่นายวีรชัยเสนอ
โดยสิ้นวันนายวีรชัยจะรายงานจำนวนเงินที่ได้รับหรือต้องชำระ
ซึ่งลูกค้าไม่เคยโต้แย้งหรือปฏิเสธรายการ
กรณีนายฐิติพงศ์ ก.ล.ต. ได้รับรายงานการลงโทษผู้แนะนำการลงทุน ของ บล. กรุงศรี พ
ร้อมทั้งตรวจสอบเพิ่มเติมพบว่า นายฐิติพงศ์รับมอบหมายจากผู้ลงทุนในการตัดสินใจ
ซื้อขายหลักทรัพย์แทนผู้ลงทุน โดยพบบทสนทนาในลักษณะที่ลูกค้ายินยอมให้
ายฐิติพงศ์สั่งซื้อขายหลักทรัพย์ในบัญชีหลักทรัพย์ของลูกค้า และนายฐิติพงศ์ได้ตัดสินใจ
สั่งซื้อขายหลักทรัพย์แล้วรายงานให้ลูกค้าทราบโดยลูกค้าไม่ปฏิเสธรายการซื้อขาย
รวมทั้งพบว่าบางวันมีรายการซื้อขายหลักทรัพย์ แต่นายฐิติพงศ์ไม่รายงานให้ลูกค้าทราบอย่างครบถ้วน
การรับมอบหมายจากผู้ลงทุนในการตัดสินใจซื้อขายหลักทรัพย์แทนผู้ลงทุน
เป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามข้อ 20(2) แห่งประกาศคณะกรรมการกำกับตลาดทุนที่ ทลธ. 3/2555
เรื่อง การให้ความเห็นชอบบุคลากรของ
ผู้ประกอบธุรกิจเพื่อปฏิบัติหน้าที่วิเคราะห์การลงทุนและแนะนำการลงทุน
ลงวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2555 ก.ล.ต. จึงสั่งพักการให้ความเห็นชอบเป็นผู้แนะนำการลงทุน
ด้านตลาดทุนรายนายวีรชัย เป็นเวลา 3 เดือน ตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม 2557
และนายฐิติพงศ์ เป็นเวลา 1 เดือน แต่เมื่อคำนึงถึงกรณีที่ บล.กรุงศรี
ได้ลงโทษพักการปฏิบัติหน้าที่เป็นผู้แนะนำการลงทุนของนายฐิติพงศ์ไปแล้วเป็นเวลา 15 วัน
จึงกำหนดระยะเวลาพักการให้ความเห็นชอบเป็นผู้แนะนำการลงทุนด้านตลาดทุนของ
นายฐิติพงศ์ตามคำสั่งของ ก.ล.ต. อีกเป็นเวลา 15 วัน นับตั้งแต่วันที่ 27 มีนาคม 2557
http://www.moneychannel.co.th/index.php ... gh188.html
-
- Verified User
- โพสต์: 6427
- ผู้ติดตาม: 2
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 24
“ก.ล.ต.” สั่งปรับ “มณฑาทิพย์ ชินวัตร” ใช้ข้อมูลภายในขายหุ้น MLINK
ก.ล.ต.สั่งปรับ “มณฑาทิพย์ ชินวัตร-สมชัย โกวิทเจริญกุล” เป็นเงิน 9.67 ล้านบาท ฐานใช้ข้อมูลภายในขายหุ้น MLINK ถือเป็นการเอาเปรียบบุคคลภายนอก และส่งผลกระทบต่อราคาหุ้น
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดเผยกรณีคณะกรรมการเปรียบเทียบ มีคำสั่งเปรียบเทียบนางมณฑาทิพย์ ชินวัตร และนายสมชัย โกวิทเจริญกุล เป็นเงินรวม 9,670,432.91 บาท กรณีใช้ข้อมูลภายในขายหุ้น บมจ.เอ็ม ลิ้งค์ เอเชีย คอร์ปอเรชั่น (MLINK)
ทั้งนี้ ก.ล.ต. ได้รับแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และตรวจสอบเพิ่มเติมพบว่า ระหว่างวันที่ 27 กรกฎาคม ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2554 นางมณฑาทิพย์ ขายหุ้น MLINK ในบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท เอ็ม แคปปิตอล โฮลดิ้งส์ จำกัด (บ.เอ็มแคปปิตอล) จำนวน 29 ล้านหุ้น ในประการที่น่าจะเป็นการเอาเปรียบบุคคลภายนอก โดยอาศัยข้อเท็จจริงที่เป็นสาระสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคาของหุ้น MLINK และยังไม่ได้เปิดเผยต่อประชาชนเกี่ยวกับผลขาดทุนสุทธิ จำนวน 315.79 ล้านบาท ในไตรมาส 2/2554 ของ MLINK เนื่องจากการตั้งรายการพิเศษเกี่ยวกับการรับรู้การด้อยค่าของงานระหว่างทำในบริษัทย่อยรายบริษัท พอร์ทัลเน็ท จำกัด โดยนางมณฑาทิพย์ ล่วงรู้ข้อมูลดังกล่าวจากการเป็นประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการของ MLINK รวมทั้งเป็นผู้ถือหุ้นร้อยละ 49.99 และกรรมการผู้มีอำนาจของ บ.เอ็มแคปปิตอล ในขณะนั้น
นอกจากนี้ ยังพบว่า ระหว่างวันที่ 22 กรกฎาคม ถึงวันที่ 2 สิงหาคม 2554 นายสมชัย ได้ขายหุ้น MLINK ในบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของตนเอง จำนวน 7,026,400 หุ้น โดยอาศัยข้อเท็จจริงข้างต้น ซึ่งนายสมชัย ได้ล่วงรู้จากการเป็นกรรมการของ MLINK ในขณะนั้น
การกระทำของนางมณฑาทิพย์ และนายสมชัย ซึ่งเป็นบุคคลวงในเข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 241 ต้องระวางโทษตามมาตรา 296 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 เนื่องจากบุคคลทั้งสองยินยอมเข้ารับการเปรียบเทียบ คณะกรรมการเปรียบเทียบได้เปรียบเทียบปรับนางมณฑาทิพย์ เป็นเงิน 7,862,349.85 บาท และนายสมชัย เป็นเงิน 1,808,083.06 บาท
http://www.manager.co.th/iBizChannel/Vi ... 0000056599
ก.ล.ต.สั่งปรับ “มณฑาทิพย์ ชินวัตร-สมชัย โกวิทเจริญกุล” เป็นเงิน 9.67 ล้านบาท ฐานใช้ข้อมูลภายในขายหุ้น MLINK ถือเป็นการเอาเปรียบบุคคลภายนอก และส่งผลกระทบต่อราคาหุ้น
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดเผยกรณีคณะกรรมการเปรียบเทียบ มีคำสั่งเปรียบเทียบนางมณฑาทิพย์ ชินวัตร และนายสมชัย โกวิทเจริญกุล เป็นเงินรวม 9,670,432.91 บาท กรณีใช้ข้อมูลภายในขายหุ้น บมจ.เอ็ม ลิ้งค์ เอเชีย คอร์ปอเรชั่น (MLINK)
ทั้งนี้ ก.ล.ต. ได้รับแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (ตลท.) และตรวจสอบเพิ่มเติมพบว่า ระหว่างวันที่ 27 กรกฎาคม ถึงวันที่ 15 สิงหาคม 2554 นางมณฑาทิพย์ ขายหุ้น MLINK ในบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัท เอ็ม แคปปิตอล โฮลดิ้งส์ จำกัด (บ.เอ็มแคปปิตอล) จำนวน 29 ล้านหุ้น ในประการที่น่าจะเป็นการเอาเปรียบบุคคลภายนอก โดยอาศัยข้อเท็จจริงที่เป็นสาระสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงราคาของหุ้น MLINK และยังไม่ได้เปิดเผยต่อประชาชนเกี่ยวกับผลขาดทุนสุทธิ จำนวน 315.79 ล้านบาท ในไตรมาส 2/2554 ของ MLINK เนื่องจากการตั้งรายการพิเศษเกี่ยวกับการรับรู้การด้อยค่าของงานระหว่างทำในบริษัทย่อยรายบริษัท พอร์ทัลเน็ท จำกัด โดยนางมณฑาทิพย์ ล่วงรู้ข้อมูลดังกล่าวจากการเป็นประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการของ MLINK รวมทั้งเป็นผู้ถือหุ้นร้อยละ 49.99 และกรรมการผู้มีอำนาจของ บ.เอ็มแคปปิตอล ในขณะนั้น
นอกจากนี้ ยังพบว่า ระหว่างวันที่ 22 กรกฎาคม ถึงวันที่ 2 สิงหาคม 2554 นายสมชัย ได้ขายหุ้น MLINK ในบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของตนเอง จำนวน 7,026,400 หุ้น โดยอาศัยข้อเท็จจริงข้างต้น ซึ่งนายสมชัย ได้ล่วงรู้จากการเป็นกรรมการของ MLINK ในขณะนั้น
การกระทำของนางมณฑาทิพย์ และนายสมชัย ซึ่งเป็นบุคคลวงในเข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 241 ต้องระวางโทษตามมาตรา 296 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 เนื่องจากบุคคลทั้งสองยินยอมเข้ารับการเปรียบเทียบ คณะกรรมการเปรียบเทียบได้เปรียบเทียบปรับนางมณฑาทิพย์ เป็นเงิน 7,862,349.85 บาท และนายสมชัย เป็นเงิน 1,808,083.06 บาท
http://www.manager.co.th/iBizChannel/Vi ... 0000056599
คนที่รู้ว่าตัวเองยังไม่รู้ ย่อมมีโอกาสเรียนรู้
- dome@perth
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 4741
- ผู้ติดตาม: 22
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 25
ฟันผู้บริหาร TUCC แอบกระซิบคนใกล้ตัวขายหุ้น
วันพุธ, 18 มิถุนายน 2557 17:34 |Money Channel
ก.ล.ต. สั่งปรับ"ยงยุทธ งามไกวัล" ผู้บริหาร TUCC กว่า 6.1 ล้านบาท ข้อหาใช้อินไซด์เดอร์รู้ล่วงหน้าผลการดำเนินจะออกมาขาดทุน แอบบอกให้คนใกล้ตัวขายหุ้นหนีไปก่อน
ก.ล.ต. เปิดเผยคณะกรรมการเปรียบเทียบมีคำสั่งเปรียบเทียบนายยงยุทธ งามไกวัล กรณีใช้ข้อมูลภายในชักชวนให้นางสาววรกุล งามไกวัล ขายหุ้นบริษัทไทยยูนีคคอยล์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) (TUCC) และนางสาววรพิน งามไกวัล กรณีใช้ข้อมูลภายในขายหุ้น TUCC เป็นเงินรวม 6,159,269 บาท
ก.ล.ต. ได้รับแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและตรวจสอบเพิ่มเติมพบว่า ระหว่างวันที่ 27 กรกฎาคม ถึงวันที่ 10 สิงหาคม 2554 นายยงยุทธชักชวนให้นางสาววรกุล ขายหุ้น TUCC จำนวน 17,475,100 หุ้น ในประการที่น่าจะเป็นการเอาเปรียบต่อบุคคลภายนอก โดยอาศัยข้อเท็จจริงที่เป็นสาระสำคัญ ต่อการเปลี่ยนแปลงราคาของหุ้น TUCC ซึ่งยังไม่ได้เปิดเผยต่อประชาชน เกี่ยวกับการตั้งสำรองหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้การค้ารายย่อย 26 ราย จำนวน 43.99 ล้านบาท ซึ่งส่งผลให้ผลการดำเนินงานในไตรมาส 2/2554 ของ TUCC ขาดทุนจำนวน 104.86 ล้านบาท โดยนายยงยุทธล่วงรู้ข้อมูลดังกล่าวในฐานะประธานเจ้าหน้าที่บริหารของ TUCC ในขณะนั้น และนายยงยุทธได้รับประโยชน์ตอบแทนจากการชักชวนดังกล่าว
นอกจากนี้ ยังพบกรณีนางสาววรพินขายหุ้น TUCC จำนวนรวม 318,500 หุ้น ในบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของตนเอง ระหว่างวันที่ 27-28 กรกฎาคม 2554 ในประการที่น่าจะเป็นการเอาเปรียบต่อบุคคลภายนอก โดยอาศัยข้อเท็จจริงข้างต้น ซึ่งนางสาววรพินได้ล่วงรู้จากการเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงินของ TUCC ในช่วงเวลาดังกล่าว
การกระทำของนายยงยุทธและนางสาววรพิน ซึ่งเป็นบุคคลวงในเข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 241 ซึ่งต้องระวางโทษตามมาตรา 296 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 เนื่องจากนายยงยุทธและนางสาววรพินยินยอมเข้ารับการเปรียบเทียบ คณะกรรมการเปรียบเทียบได้เปรียบเทียบปรับนายยงยุทธ เป็นเงิน 5,659,269 บาท และนางสาววรพิน เป็นเงิน 500,000 บาท
วันพุธ, 18 มิถุนายน 2557 17:34 |Money Channel
ก.ล.ต. สั่งปรับ"ยงยุทธ งามไกวัล" ผู้บริหาร TUCC กว่า 6.1 ล้านบาท ข้อหาใช้อินไซด์เดอร์รู้ล่วงหน้าผลการดำเนินจะออกมาขาดทุน แอบบอกให้คนใกล้ตัวขายหุ้นหนีไปก่อน
ก.ล.ต. เปิดเผยคณะกรรมการเปรียบเทียบมีคำสั่งเปรียบเทียบนายยงยุทธ งามไกวัล กรณีใช้ข้อมูลภายในชักชวนให้นางสาววรกุล งามไกวัล ขายหุ้นบริษัทไทยยูนีคคอยล์เซ็นเตอร์ จำกัด (มหาชน) (TUCC) และนางสาววรพิน งามไกวัล กรณีใช้ข้อมูลภายในขายหุ้น TUCC เป็นเงินรวม 6,159,269 บาท
ก.ล.ต. ได้รับแจ้งจากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและตรวจสอบเพิ่มเติมพบว่า ระหว่างวันที่ 27 กรกฎาคม ถึงวันที่ 10 สิงหาคม 2554 นายยงยุทธชักชวนให้นางสาววรกุล ขายหุ้น TUCC จำนวน 17,475,100 หุ้น ในประการที่น่าจะเป็นการเอาเปรียบต่อบุคคลภายนอก โดยอาศัยข้อเท็จจริงที่เป็นสาระสำคัญ ต่อการเปลี่ยนแปลงราคาของหุ้น TUCC ซึ่งยังไม่ได้เปิดเผยต่อประชาชน เกี่ยวกับการตั้งสำรองหนี้สงสัยจะสูญของลูกหนี้การค้ารายย่อย 26 ราย จำนวน 43.99 ล้านบาท ซึ่งส่งผลให้ผลการดำเนินงานในไตรมาส 2/2554 ของ TUCC ขาดทุนจำนวน 104.86 ล้านบาท โดยนายยงยุทธล่วงรู้ข้อมูลดังกล่าวในฐานะประธานเจ้าหน้าที่บริหารของ TUCC ในขณะนั้น และนายยงยุทธได้รับประโยชน์ตอบแทนจากการชักชวนดังกล่าว
นอกจากนี้ ยังพบกรณีนางสาววรพินขายหุ้น TUCC จำนวนรวม 318,500 หุ้น ในบัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ของตนเอง ระหว่างวันที่ 27-28 กรกฎาคม 2554 ในประการที่น่าจะเป็นการเอาเปรียบต่อบุคคลภายนอก โดยอาศัยข้อเท็จจริงข้างต้น ซึ่งนางสาววรพินได้ล่วงรู้จากการเป็นประธานเจ้าหน้าที่บริหารการเงินของ TUCC ในช่วงเวลาดังกล่าว
การกระทำของนายยงยุทธและนางสาววรพิน ซึ่งเป็นบุคคลวงในเข้าข่ายเป็นความผิดตามมาตรา 241 ซึ่งต้องระวางโทษตามมาตรา 296 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 เนื่องจากนายยงยุทธและนางสาววรพินยินยอมเข้ารับการเปรียบเทียบ คณะกรรมการเปรียบเทียบได้เปรียบเทียบปรับนายยงยุทธ เป็นเงิน 5,659,269 บาท และนางสาววรพิน เป็นเงิน 500,000 บาท
"ไม่มีสุตรสำเร็จ ไม่มีทางลัด ไม่ใช่แค่โชค
หนทางจะได้มาซึ่ง อิสระภาพทางการเงิน
มันมาจาก ความขยัน การไขว่คว้า หาความรู้
เชื่อและตั้งมั้นในหลักการลงทุนที่ถูกต้อง"
หนทางจะได้มาซึ่ง อิสระภาพทางการเงิน
มันมาจาก ความขยัน การไขว่คว้า หาความรู้
เชื่อและตั้งมั้นในหลักการลงทุนที่ถูกต้อง"
-
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 957
- ผู้ติดตาม: 1
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 27
ศาลฎีกาไม่ให้ประกันตัว 'สนธิ ลิ้มทองกุล'
โดย ทีมข่าวไทยรัฐออนไลน์ 8 ส.ค. 2557 17:08
http://www.thairath.co.th/content/442111
ศาลฏีกาไม่ให้ประกันตัว"สนธิ ลิ้มทองกุล" เหตุจำเลยยังไม่ได้ยื่นฎีกา และยังไม่ขออนุญาตให้รับรองฎีกา
วันที่ 8 ส.ค. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า กรณีศาลอาญาอ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ในคดีที่ถูกอัยการฟ้องนายสนธิ ลิ้มทองกุล ร่วมกับพวก ตกแต่งบัญชีบริษัทในเครือ เป็นความผิดตาม พ.ร.บ.ตลาดหลักทรัพย์ และถูกพิพากษาจำคุก 20 ปี โดยนายสนธิได้ยื่นขอประกันตัว โดยวางเงิน 10 ล้านบาท เป็นหลักทรัพย์ แต่ศาลอาญาไม่สั่งประกันเอง และส่งสำนวนให้ศาลฎีกาสั่งประกัน นายสนธิจึงถูกขังที่เรือนจำ ตั้งแต่วันที่ 7 ส.ค.
ปรากฏว่า ศาลฎีกามีคำสั่งว่า จำเลยยังไม่ได้ยื่นฎีกาและยังไม่ขออนุญาตให้รับรองฎีกา ตาม ป.วิอาญามาตรา 221 จึงไม่มีเหตุปล่อย ยกคำร้อง
เก็บข่าวต่อจากกระทู้ " จำคุก20ปี "สนธิ ลิ้มทองกุล" คดี ผิด พรบ.หลักทรัพย์ "
http://board.thaivi.org/viewtopic.php?f=1&t=57890
ขอเก็บข่าวความผิดเกี่ยวกับหุ้นนี้ แปะรวมไว้ในห้องรวมข่าวนี้ด้วย ครับ
โดย ทีมข่าวไทยรัฐออนไลน์ 8 ส.ค. 2557 17:08
http://www.thairath.co.th/content/442111
ศาลฏีกาไม่ให้ประกันตัว"สนธิ ลิ้มทองกุล" เหตุจำเลยยังไม่ได้ยื่นฎีกา และยังไม่ขออนุญาตให้รับรองฎีกา
วันที่ 8 ส.ค. ผู้สื่อข่าวรายงานว่า กรณีศาลอาญาอ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ ในคดีที่ถูกอัยการฟ้องนายสนธิ ลิ้มทองกุล ร่วมกับพวก ตกแต่งบัญชีบริษัทในเครือ เป็นความผิดตาม พ.ร.บ.ตลาดหลักทรัพย์ และถูกพิพากษาจำคุก 20 ปี โดยนายสนธิได้ยื่นขอประกันตัว โดยวางเงิน 10 ล้านบาท เป็นหลักทรัพย์ แต่ศาลอาญาไม่สั่งประกันเอง และส่งสำนวนให้ศาลฎีกาสั่งประกัน นายสนธิจึงถูกขังที่เรือนจำ ตั้งแต่วันที่ 7 ส.ค.
ปรากฏว่า ศาลฎีกามีคำสั่งว่า จำเลยยังไม่ได้ยื่นฎีกาและยังไม่ขออนุญาตให้รับรองฎีกา ตาม ป.วิอาญามาตรา 221 จึงไม่มีเหตุปล่อย ยกคำร้อง
เก็บข่าวต่อจากกระทู้ " จำคุก20ปี "สนธิ ลิ้มทองกุล" คดี ผิด พรบ.หลักทรัพย์ "
http://board.thaivi.org/viewtopic.php?f=1&t=57890
http://www.thairath.co.th/content/441778
จำคุก20ปี "สนธิ ลิ้มทองกุล" คดี ผิด พรบ.หลักทรัพย์
ศาลอุทธรณ์ พิพากษายืน คดี "สนธิ ลิ้มทองกุล" และพวกที่เป็นอดีตผู้บริหาร บมจ.แมเนเจอร์ฯ ร่วมกันทำผิด พ.ร.บ.หลักทรัพย์ฯ ให้ลงโทษจำคุกคนละ 20 ปี ตามคำพิพากษาของศาลชั้นต้น
เมื่อเวลา 09.00 น. วันที่ 7 ส.ค. ศาลนัดอ่านคำพิพากษาศาลอุทธรณ์ คดีหมายเลขดำ อ.1036/2552 ที่พนักงานอัยการฝ่ายคดีเศรษฐกิจและทรัพยากร เป็นโจทก์ฟ้อง นายสนธิ ลิ้มทองกุล ผู้ก่อตั้งหนังสือพิมพ์ในเครือผู้จัดการ และแกนนำพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย นายสุรเดช มุขยางกูร อดีตกรรมการบริษัท แมเนเจอร์ มีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) น.ส.เสาวลักษณ์ ธีรานุจรรยงค์ อดีตผู้บริหารแผนฟื้นฟู บมจ. แมเนเจอร์ฯ และ น.ส.วยุพิน จันทนา อดีตกรรมการ บมจ. แมเนเจอร์ฯ เป็นจำเลยที่ 1-4 ในความผิดตาม พ.ร.บ.หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ทั้งนี้ โจทก์ฟ้องว่า เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2539-วันที่ 31 มีนาคม 2540 จำเลยทั้ง 4 ซึ่งเป็นกรรมการบริษัท แมเนเจอร์ มีเดีย กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ได้ร่วมทำสำเนารายงานการประชุมของกรรมการบริษัทที่เป็นเท็จว่ามีมติให้ บริษัท เป็นผู้ค้ำประกันเงินกู้ให้กับบริษัท เดอะ เอ็มกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ที่จำเลยที่ 1 เป็นผู้ถือหุ้น กับธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) รวม 6 ครั้ง จำนวน 1,078 ล้านบาท โดยจำเลยที่ 1 และ 3 ไม่ได้ขออนุมัติจากมติที่ประชุมกรรมการบริษัท
นอกจากนี้เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2539-18 พฤศจิกายน 2541 จำเลยทั้งยังร่วมกันยอมให้มีการเปลี่ยนแปลงตัดทอนทำบัญชีไม่ตรงกับความเป็นจริง และจำเลยทั้ง 4 ยังไม่ได้นำภาระการค้ำประกันเงินกู้ดังกล่าวซึ่งถือเป็นรายการที่ทำให้รายได้ของ บมจ.แมเนเจอร์ฯ เปลี่ยนแปลงผิดปกติ ซึ่งต้องแสดงรายการไว้ในงบการเงินประจำปี 2539-2541 และจะต้องนำส่งให้ตลาดหลักทรัพย์ และสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เพื่อลวงให้ผู้ถือหุ้นของ บมจ.แมเนเจอร์ฯ ขาดประโยชน์ที่ควรจะได้รับ รวมทั้งเป็นการลวงให้นักลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ ไม่ได้รับรู้ถึงการค้ำประกันหนี้ดังกล่าว
เหตุเกิดที่แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา และแขวงชนะสงคราม เขตพระนคร กทม. เกี่ยวพันกัน ในชั้นพิจารณาจำเลยทั้ง 4 ให้การรับสารภาพ จึงพิพากษาจำคุกจำเลยที่ 1 และ 3 เป็นเวลา 85 ปี ส่วนจำเลยที่ 2 ลงโทษจำคุก 5 ปี จำเลยที่ 4 กระทำความผิดรวม 13 กระทง ลงโทษกระทงละ 5 ปี รวมจำคุกจำเลยที่ 4 เป็นเวลา 65 ปี จำเลยทั้ง 4 ให้การรับสารภาพเป็นโยชน์แก่การพิจารณาคดี ลดโทษให้กึ่งหนึ่ง คงจำคุกจำเลยที่ 1 และ 3 เป็นเวลา 42 ปี 6 เดือน ส่วนจำเลยที่ 2 จำคุก 2 ปี 6 เดือน และจำเลยที่ 4 จำคุก 32 ปี 6 เดือน แต่โทษสูงสุดในความผิดฐานดังกล่าว กฎหมายกำหนดให้ลงโทษจำคุกสูงสุดไม่เกิน 20 ปี จึงลงโทษจำคุกจำเลยที่ 1, 3 และ 4 คนละ 20 ปี จำเลยที่ 2 ไม่ติดใจอุทธรณ์
ศาลอุทธรณ์พิพากษาว่า ศาลชั้นต้น ฟังได้ว่าจำเลยที่1, 3, 4 มีเจตนาทุจริต อุทธรณ์ของจำเลยฟังไม่ขึ้นทุกประเด็น ศาลอุทธรณ์เห็นพ้องด้วย จึงพิพากษายืน หลังจากนายสนธิฟังคำพิพากษาแล้ว ถึงกับยืนอึ้ง ก่อนถูกควบคุมตัวไปใต้ถุนศาล จากนั้นจึงยื่นหลักทรัพย์เดิมเงินสด 10 ล้านบาท ขอประกันตัว ซึ่งศาลอยู่ระหว่างพิจารณา
ขอเก็บข่าวความผิดเกี่ยวกับหุ้นนี้ แปะรวมไว้ในห้องรวมข่าวนี้ด้วย ครับ
- ปรัชญา
- สมาชิกกิตติมศักดิ์
- โพสต์: 18252
- ผู้ติดตาม: 43
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 29
6 ตุลาคม 2557 -- ก.ล.ต.สั่งเพิกถอนผู้แนะนำการลงทุน2ราย
--กรุงเทพธุรกิจ
ก.ล.ต. สั่งเพิกถอนผู้แนะนำการลงทุนด้านหลักทรัพย์ 2 ราย เป็นเวลา 10 ปี ฐานไม่ซื่อสัตย์ต่อลูกค้า
ก.ล.ต. สั่งเพิกถอนการเป็นผู้แนะนำการลงทุนด้านหลักทรัพย์รายนางสาวธันย์จิรา พลวัฒน์ธนากุล ขณะกระทำผิดชื่อนางสาวณัฐรียา กุลภควา สังกัดบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทิสโก้ จำกัด (บลจ. ทิสโก้) และนายสุรศักดิ์ ศักดิ์ฤทธิรณ ไม่ได้สังกัดบริษัทหลักทรัพย์ใด เป็นเวลา 10 ปี
ก.ล.ต. ได้รับรายงานของ บลจ.ทิสโก้ กรณีผู้แนะนำการลงทุนด้านหลักทรัพย์รายนางสาวธันย์จิรา และตรวจสอบเพิ่มเติมพบว่า นางสาวธันย์จิราได้จัดทำคำสั่งซื้อขาย สับเปลี่ยน โอน หน่วยลงทุนกองทุนรวม และเอกสารขอเปลี่ยนแปลงที่อยู่ของลูกค้า และลงลายมือชื่อของลูกค้าจำนวน 2 ราย โดยรายแรกนางสาวธันย์จิราลงลายมือชื่อของลูกค้า เพื่อเปลี่ยนแปลงที่อยู่ในการติดต่อและจัดส่งเอกสารของลูกค้าเป็นที่อยู่ของนางสาวธันย์จิรา ทำคำสั่งลดทุนกองทุนส่วนบุคคลของลูกค้า แล้วนำเช็คไปซื้อหน่วยลงทุนกองทุนรวมให้ลูกค้ารายที่สองและนายสุรศักดิ์ นอกจากนี้ นางสาวธันย์จิรายังได้ทำคำสั่งขายหน่วยลงทุนกองทุนรวมของลูกค้า ซึ่งเมื่อได้รับเช็คเพื่อชำระเงินจากการลดทุนแล้วกลับนำเช็คดังกล่าว ไปเข้าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ที่ตนเองลงลายมือชื่อของลูกค้าในใบคำขอเปิดบัญชีเงินฝากบัญชีธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน) แล้วซื้อแคชเชียร์เช็คโดยหักเงินจากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ดังกล่าว ไปซื้อหน่วยลงทุนกองทุนรวมให้นายสุรศักดิ์ รวมทั้งรับบัตรกำนัลของลูกค้าที่ บลจ. ทิสโก้ ส่งไปตามที่อยู่ที่นางสาวธันย์จิราแจ้งเปลี่ยนแปลง
สำหรับลูกค้ารายที่สองนางสาวธันย์จิราลงลายมือชื่อของลูกค้า เพื่อส่งคำสั่งสับเปลี่ยนหน่วยลงทุนกองทุนรวมคำสั่งซื้อหน่วยลงทุน และเปลี่ยนแปลงที่อยู่ในการจัดส่งเอกสารของลูกค้าเป็นที่อยู่ของตนเอง เพื่อปกปิดความผิดที่สับเปลี่ยนและซื้อหน่วยลงทุนในปริมาณสูงโดยลูกค้าไม่ได้สั่ง
กรณีนายสุรศักดิ์ ก.ล.ต.ได้รับรายงานว่า นายสุรศักดิ์เป็นผู้ลงลายมือชื่อในใบคำสั่งซื้อหน่วยลงทุนที่นางสาวธันย์จิรานำเงินจากบัญชีกองทุนส่วนบุคคลและกองทุนรวมของลูกค้าไปซื้อหน่วยลงทุนกองทุนรวมให้นายสุรศักดิ์ ซึ่งเมื่อตรวจสอบลายมือพบว่าตรงกับลายมือชื่อของนายสุรศักดิ์ในใบคำขอเปิดบัญชีและหนังสือชี้แจงของนายสุรศักดิ์ นอกจากนี้ นายสุรศักดิ์มีที่อยู่เดียวกันกับนางสาวธันย์จิราและได้ร่วมกับนางสาวธันย์จิราชำระหนี้ให้แก่ บลจ. ทิสโก้ จึงพิจารณาว่า นายสุรศักดิ์มีส่วนร่วมในการกระทำที่ไม่ซื่อสัตย์สุจริตของนางสาวธันย์จิรา
การกระทำดังกล่าวข้างต้นเป็นการไม่ปฏิบัติตามข้อ 23(1) และ (2) แห่งประกาศที่ ทลธ. 8/2557 ลงวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ทั้งนี้ การไม่ปฏิบัติตามข้อ 23(1) และ (2) รวมทั้ง การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติหน้าที่โดยไม่ซื่อสัตย์สุจริตเป็นลักษณะต้องห้ามของบุคลากรในธุรกิจตลาดทุนตามข้อ 31(1) แห่งประกาศ ที่ ทลธ. 8/2557 ก.ล.ต. จึงสั่งเพิกถอนการให้ความเห็นชอบเป็นผู้แนะนำการลงทุนด้านหลักทรัพย์ของนางสาวธันย์จิราและนายสุรศักดิ์ และกำหนดระยะเวลาในการรับพิจารณาคำขอความเห็นชอบเป็นบุคลากรในธุรกิจตลาดทุนเป็นเวลา 10 ปี โดยนางสาวธันย์จิราคำสั่งมีผลตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2557 และนายสุรศักดิ์คำสั่งมีผลตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคม 2557
--จบ--
--กรุงเทพธุรกิจ
ก.ล.ต. สั่งเพิกถอนผู้แนะนำการลงทุนด้านหลักทรัพย์ 2 ราย เป็นเวลา 10 ปี ฐานไม่ซื่อสัตย์ต่อลูกค้า
ก.ล.ต. สั่งเพิกถอนการเป็นผู้แนะนำการลงทุนด้านหลักทรัพย์รายนางสาวธันย์จิรา พลวัฒน์ธนากุล ขณะกระทำผิดชื่อนางสาวณัฐรียา กุลภควา สังกัดบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน ทิสโก้ จำกัด (บลจ. ทิสโก้) และนายสุรศักดิ์ ศักดิ์ฤทธิรณ ไม่ได้สังกัดบริษัทหลักทรัพย์ใด เป็นเวลา 10 ปี
ก.ล.ต. ได้รับรายงานของ บลจ.ทิสโก้ กรณีผู้แนะนำการลงทุนด้านหลักทรัพย์รายนางสาวธันย์จิรา และตรวจสอบเพิ่มเติมพบว่า นางสาวธันย์จิราได้จัดทำคำสั่งซื้อขาย สับเปลี่ยน โอน หน่วยลงทุนกองทุนรวม และเอกสารขอเปลี่ยนแปลงที่อยู่ของลูกค้า และลงลายมือชื่อของลูกค้าจำนวน 2 ราย โดยรายแรกนางสาวธันย์จิราลงลายมือชื่อของลูกค้า เพื่อเปลี่ยนแปลงที่อยู่ในการติดต่อและจัดส่งเอกสารของลูกค้าเป็นที่อยู่ของนางสาวธันย์จิรา ทำคำสั่งลดทุนกองทุนส่วนบุคคลของลูกค้า แล้วนำเช็คไปซื้อหน่วยลงทุนกองทุนรวมให้ลูกค้ารายที่สองและนายสุรศักดิ์ นอกจากนี้ นางสาวธันย์จิรายังได้ทำคำสั่งขายหน่วยลงทุนกองทุนรวมของลูกค้า ซึ่งเมื่อได้รับเช็คเพื่อชำระเงินจากการลดทุนแล้วกลับนำเช็คดังกล่าว ไปเข้าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ที่ตนเองลงลายมือชื่อของลูกค้าในใบคำขอเปิดบัญชีเงินฝากบัญชีธนาคารทิสโก้ จำกัด (มหาชน) แล้วซื้อแคชเชียร์เช็คโดยหักเงินจากบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ดังกล่าว ไปซื้อหน่วยลงทุนกองทุนรวมให้นายสุรศักดิ์ รวมทั้งรับบัตรกำนัลของลูกค้าที่ บลจ. ทิสโก้ ส่งไปตามที่อยู่ที่นางสาวธันย์จิราแจ้งเปลี่ยนแปลง
สำหรับลูกค้ารายที่สองนางสาวธันย์จิราลงลายมือชื่อของลูกค้า เพื่อส่งคำสั่งสับเปลี่ยนหน่วยลงทุนกองทุนรวมคำสั่งซื้อหน่วยลงทุน และเปลี่ยนแปลงที่อยู่ในการจัดส่งเอกสารของลูกค้าเป็นที่อยู่ของตนเอง เพื่อปกปิดความผิดที่สับเปลี่ยนและซื้อหน่วยลงทุนในปริมาณสูงโดยลูกค้าไม่ได้สั่ง
กรณีนายสุรศักดิ์ ก.ล.ต.ได้รับรายงานว่า นายสุรศักดิ์เป็นผู้ลงลายมือชื่อในใบคำสั่งซื้อหน่วยลงทุนที่นางสาวธันย์จิรานำเงินจากบัญชีกองทุนส่วนบุคคลและกองทุนรวมของลูกค้าไปซื้อหน่วยลงทุนกองทุนรวมให้นายสุรศักดิ์ ซึ่งเมื่อตรวจสอบลายมือพบว่าตรงกับลายมือชื่อของนายสุรศักดิ์ในใบคำขอเปิดบัญชีและหนังสือชี้แจงของนายสุรศักดิ์ นอกจากนี้ นายสุรศักดิ์มีที่อยู่เดียวกันกับนางสาวธันย์จิราและได้ร่วมกับนางสาวธันย์จิราชำระหนี้ให้แก่ บลจ. ทิสโก้ จึงพิจารณาว่า นายสุรศักดิ์มีส่วนร่วมในการกระทำที่ไม่ซื่อสัตย์สุจริตของนางสาวธันย์จิรา
การกระทำดังกล่าวข้างต้นเป็นการไม่ปฏิบัติตามข้อ 23(1) และ (2) แห่งประกาศที่ ทลธ. 8/2557 ลงวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2557 ทั้งนี้ การไม่ปฏิบัติตามข้อ 23(1) และ (2) รวมทั้ง การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติหน้าที่โดยไม่ซื่อสัตย์สุจริตเป็นลักษณะต้องห้ามของบุคลากรในธุรกิจตลาดทุนตามข้อ 31(1) แห่งประกาศ ที่ ทลธ. 8/2557 ก.ล.ต. จึงสั่งเพิกถอนการให้ความเห็นชอบเป็นผู้แนะนำการลงทุนด้านหลักทรัพย์ของนางสาวธันย์จิราและนายสุรศักดิ์ และกำหนดระยะเวลาในการรับพิจารณาคำขอความเห็นชอบเป็นบุคลากรในธุรกิจตลาดทุนเป็นเวลา 10 ปี โดยนางสาวธันย์จิราคำสั่งมีผลตั้งแต่วันที่ 7 ตุลาคม 2557 และนายสุรศักดิ์คำสั่งมีผลตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคม 2557
--จบ--
- Tibular
- สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
- โพสต์: 532
- ผู้ติดตาม: 4
Re: รวมข่าว ปั่นหุ้น
โพสต์ที่ 30
กระทู้นี้ดีมากๆครับ ช่วยๆกันแปะข่าวหุ้นปั่นไว้ เป็นส่วนนึงที่ช่วยให้นักลงทุนเรา
ไม่ตกเป็นเหยื่อ และเป็นการพัฒนาตลาดทุนไปในตัวด้วย
อันนี้นำมาจากเวบพันทิปครับ น่าสนใจดี ไม่รู้จะมีหุ้นปั่นด้วยหรือเปล่า?
หุ้นที่ให้ผลตอบแทนติดลบตั้งแต่เริ่มเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ จนถึงปัจจุบัน
http://pantip.com/topic/32654995
ไม่ตกเป็นเหยื่อ และเป็นการพัฒนาตลาดทุนไปในตัวด้วย
อันนี้นำมาจากเวบพันทิปครับ น่าสนใจดี ไม่รู้จะมีหุ้นปั่นด้วยหรือเปล่า?
หุ้นที่ให้ผลตอบแทนติดลบตั้งแต่เริ่มเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ จนถึงปัจจุบัน
http://pantip.com/topic/32654995