ความคิด

การลงทุนแบบเน้นคุณค่า ลงทุนหุ้น VI เน้นที่ปัจจัยพื้นฐานเป็นหลัก

โพสต์ โพสต์
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

ความคิด

โพสต์ที่ 1

โพสต์

บาทแข็งเกินไป ไม่ดี เรารู้
แต่ลดหรือขึ้นดอกเบี้ยก็ไม่ดี เพราะกระทบ วงกว้าง
ทำไม่เรา ไม่ ทำ qe แบบ ลุง เบน บ้าง
แต่ไม่ใช่เอามา ถล่มตลาดหุ้นเราอีกนะ
แต่เป็น กองทุน sovereign wealth fund (SWF) is a state-owned investment fund
แบบ วายุภักษ์ ทำนองนี้ แต่ เจาะจงไปลงทุน FIF ในต่างประเทศ
เช่น lต.ย เทมาเสก เขา มาลงทุน ในไทย ได้ เราก็ ไปซื้อ บ.คล้ายๆ F&N เขาบ้าง
แต่ใช้กองทุนทำ และกองทุน ก็ listed แบบ ETF ให้ คนไทยซื้อได้ แต่ รัฐเป็นหุ้นใหญ่
..น่าจะดี
ทีลุงเบน ทำให้ fed กำไร เข้ารัฐ ได้
ตอน
นี้ บาทแข็ง น่าจะทำ ...
มันเลยยุคเก่าๆ ที่ มาตรการ 30% -100จุด หรือแซกแซง เงิน แล้ว แบงชาติเจ้ง
คิดแบบบ้านๆ
..
ภาพประจำตัวสมาชิก
anubist
สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
โพสต์: 1373
ผู้ติดตาม: 7

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 2

โพสต์

การจะทำQEแบบมะกันได้ ผมว่ามันอยู่ที่ความเชื่อมั่นในสกุลเงินนั้นล้วนๆ
ลองไทยทำดูซิ โดนด่ากระจาย ค่าเงินตกระนาว เผลอๆไม่มีคนจะค้าขายด้วย
อีกอย่างที่ทำให้มะกันทำแบบนี้ได้เพราะการเงินUS$มีอิทธิพลต่อเงินสกุลอื่นๆทั่วโลก
เงินUS$เป็นทุนสำรองของเกือบทุกประเทศทั่วโลก
และยังเป็นเงินตราสากลที่ใช้แลกเปลี่ยนกันอย่างยุติธรรมที่สุดในตอนนี้
การเป็นเงินตราสากลนั่นหมายถึงทุกคนยอมรับ มีค่าในตัวของมันเอง
แต่การที่จู่ๆเงินตราสกุลนี้จะเปลี่ยนมาไร้ค่าโดยสิ้นเชิงหรือด้อยค่าลงอย่างมหาศาลมันเป็นไปไม่ได้
เจ้าหนี้(ก็คือทุกคนทั่วโลก)ก็ไม่อยากให้เงินสกุลนี้ด้อยค่า
เพราะนั่นหมายถึงdefualt ความมั่งคั่งของเจ้าหนี้ลดลง
แล้วมะกันจะทำแบบเวียดนามที่ประกาศลดค่าเงินทุกครั้งที่ขาดดุลการค้าก็ไม่ได้
เพราะต้องประกาศกับทุกประเทศทั่วโลกซึ่งไม่มีใครยอม
ฉนั้นตัวเลือกสำหรับมะกันจึงน้อยมากๆ

ส่วนการจะให้ธปท.ทำQEแข่ง ผมไม่เห็นด้วยเพราะจะเกิดเงินเฟ้อในระบบการเงินไทยมหาศาล
ทำให้คนจนลงจากน้ำมือธปท.เหมือนซิมบับเวที่สุดท้ายเงินกลายเป็นกระดาษเช็ดก้น
เนื่องจากค่าเชื่อมั่นในค่าเงินของเราไม่เท่ามะกัน และเงินสกุลบาทแทบไม่มีผลต่อเวทีการค้าโลก
เค้าจึงสามารถปฏิเสธเงินบาทได้โดยง่าย แล้วคนที่ตายก็คือเราเอง

จริงๆแล้วผมกลับมองว่าการกันสำรอง30%หรือการเก็บภาษีกำไร10%จากกองทุนต่างประเทศ
เป็นอะไรที่ได้ผลและผลกระทบไม่มาก แค่บัญชีเทรด3-4แสนบัญชีเท่านั้น หุ้นตกแค่ช่วงแรก
แต่ผลที่ได้คือโรงงานมีออเดอร์เพิ่ม กำไรเพิ่ม รากหญ้ามีงานทำ มีเงินใช้
สุดท้ายคือบริษัทจดทะเบียนมีกำไรเพิ่ม ราคาหุ้นจะกลับขึ้นไปเอง และสุดท้ายต่างชาติก็ต้องเข้ามา
เพราะแม้จะโดนกดดันอย่างนี้ก็ยังมีกำไรดีกว่าลงทุนในเมกาที่เงินตรากำลังด้อยค่าอย่างช้าๆ
ทุนน้อยและหลุดดอยแล้ว เย้ๆ
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 3

โพสต์

Various
economies’ currencies are undervalued relative to
medium-term fundamentals (China, Malaysia,
Thailand). Considering this credit and exchange
rate picture, these countries should wait and see
or consider modest further easing of monetary
policy stances and rely mainly on fiscal policy

to support demand. Those with less fiscal space
could proceed to more monetary easing,
source:
WORLD ECONOMIC OUTLOOK. October 2012. Coping with High Debt and
Sluggish Growth. International Monetary Fund.
http://www.imf.org/external/pubs/ft/weo ... f/text.pdf
p 24
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 4

โพสต์

The requirements for emerging market economies
with external surpluses and undervalued curren-
cies
are to cut back official reserve accumulation,
adopt more market-determined exchange systems,
and implement structural reforms, for example, to
broaden the social safety net.
p 26
ภาพประจำตัวสมาชิก
anubist
สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
โพสต์: 1373
ผู้ติดตาม: 7

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 5

โพสต์

imerlot เขียน:
Various
economies’ currencies are undervalued relative to
medium-term fundamentals (China, Malaysia,
Thailand). Considering this credit and exchange
rate picture, these countries should wait and see
or consider modest further easing of monetary
policy stances and rely mainly on fiscal policy

to support demand. Those with less fiscal space
could proceed to more monetary easing,
จากที่คุณimerlotยกมา ค่าเงินยังundervalue ซึ่งผมเห็นด้วย
แต่การที่ค่าเงินundervalueไม่ได้หมายความว่าเราต้องทำให้มันไปอยู่ที่fair valueนี่ครับ
ดูจีนซิundervalueมากี่ปีแล้ว ไม่เห็นจะสะทกสะท้านอะไร
คุณควรมองที่เศรษฐกิจพื้นฐานของไทยว่าทำไงคนมีงานทำ ทำไงคนมีเงินใช้
มากกว่าตามตูดIMFที่ปฏิบัติสองมาตราฐานเมื่อไทยและมะกันเกิดวิกฤติ
IMFก็แค่ลูกกระจ๊อกมะกัน
อย่าลืมว่าGDPไทยพึ่งพิงการส่งออกสูงถึง70%
เมื่อไหร่ที่GDPไทยพึ่งพิงการบริโภคภายในถึง50%
ค่อยมาว่าเรื่องค่าเงินunder/over value

ในขณะเดียวกันIMFบอกว่า
Considering this credit and exchange
rate picture, these countries should wait and see
or consider modest further easing of monetary
policy stances and rely mainly on fiscal policy
to support demand. Those with less fiscal space
could proceed to more monetary easing
ซึ่งหมายความว่าเราจะทำการผ่อนปรนนโยบายการเงินหรือไม่ทำก็ได้
และนโยบายทางการเงินก็ไม่ได้มีแค่QE
โดยทั่วไปหมายถึงการลดดอกเบี้ย หรือลดการตั้งสำรองในการปล่อยสินเชื่อ
แต่คุณควรมองถึงความเสี่ยงข้างหน้าหากวิกฤติยุโรปะทุหรือมะกันหดตัว
เพราะทั้งสองยังแก้ปัญหาที่ต้นเหตุไม่ได้เลย
ยุโรปยังลดการขาดดุลงบประมาณไม่ได้ตามที่ต้องการ
มะกันยังลดปัญหาการว่างงานไม่ได้ อีกทั้งยาแรงอย่างQE3-4
ก็เหมือนจะด้อยประสิทธิภาพในการแก้ปัญหาการว่างงาน
นั่นเพราะเงินจากQE3-4ไม่ได้วิ่งวนอยู่ในเศรษฐกิจมะกัน
แต่มาปั่นหุ้นและตราสารหนี้อยู่ในบ้านเรานี่ไงครับ
ฉนั้นสิ่งที่เราต้องทำไม่ใช่ทำQEแข่ง แต่บล๊อกเงินเหล่านี้ให้กลับไปสู่มะกัน
โดยส่วนตัวผม นอกจากFDIแล้ว ผมไม่อยากให้มีเงินตราต่างประเทศ
มาลงทุนในตราสารหนี้หรือหุ้นไทยสักบาท
imerlot เขียน:
The requirements for emerging market economies
with external surpluses and undervalued curren-
cies
are to cut back official reserve accumulation,
adopt more market-determined exchange systems,
and implement structural reforms, for example, to
broaden the social safety net.
p 26
ด้านบนตอบไปแล้ว
ทุนน้อยและหลุดดอยแล้ว เย้ๆ
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 6

โพสต์

ทำไม่เรา ไม่ ทำ qe แบบ ลุง เบน บ้าง
แต่ไม่ใช่เอามา ถล่มตลาดหุ้นเราอีกนะ
แต่เป็น กองทุน sovereign wealth fund (SWF) is a state-owned investment fund
แบบ วายุภักษ์ ทำนองนี้ แต่ เจาะจงไปลงทุน FIF ในต่างประเทศ
คือตอนแรกกะว่า
เป็นแค่ "ความคิด" จึงไม่อยากขยายความอะไร
แต่อ่านไปอ่านมา มันไม่ใช่ อย่างที่คิด และที่คิดก็ไม่ได้ จำเป็นจะต้องถูกต้อง
อย่างคำ ที่ว่า "ในร้ายก็มีดี" ที่ดูทีวี เมื่อเช้า ว่า ฝิ่น เป็น โทษ
แต่สามารถ นำมาทำเป็น มอฟีน กลายเป็นยาแก้ปวดรุนแรง
แล มอฟีนเอง ถ้าหมอใช้มากไปก็ไม่ได้ มันจะเป็นอันตราย

อะไรก็ตาม ที่มัน unconventional มันอันตรายทั้งนั้น
และเกิด ยาก ยิ่ง ใน ประเทศ เริ่มพัฒนาก็ยิ่งยาก

กลับมาที่ืความคิด ตอนแรกที่กว่า
สมมติ ว่า ตอนนี้ เงินร้อนมัน ท่วมโลก
ซึ่งดีไม่ดีืเงินร้อนตัวนี้ มันอาจจะลากตลาดหุ้นเรา ขึ้นไป ถึง 3000
แล้ว short ลงมาแรง แบบ ปี 1994-97 ที่ขึ่นไป 1700 แล้วลงมา 200


หรือ สองเด้งแบบ คราวก่อนคือเล่น ค่าเงิน ให้แข็งไป 24 เลยแล้ว ตีกลับไป 56
ตอนนั้น เราเจ้งกันไม่เป็นถ้า

แต่ตอนนั้น เพราะเรามี d/e 3x กว่า
ปัจจุบันนี้ ทุกด้านืเราดี กว่า ตอนนั้นมาก

แต่ไม่ได้หมายความว่า ความเสี่ยงไม่มี

....
นอกเรื่องจนได้
...
กลับมาความคิด
...
สมมติ ถึงจุดนึง เราสรุปว่า หรือพบ เงิน มัน net inflow 15 billion usd
และเริ่มจะเป็น อันตรายแล้ว แต่ก๊อกน้ำ ที่ จะต่อ ออกไป ข้างนอกคือ ให้คนไทยไปลงทุนนอก มันน้อย
ก็ลอง ความคิดเลย เช่น สมมติ ว่า ทำ qe=15billion usd แต่ไม่ มาท่วมระบบเรา
แต่เอา ไป จัดตั้งเป็น swf ที่ไปลงทุนใน ประเทศ ที่ rating ดีกว่า เรา
เช่น AAA และมีแนวโน้มค่าเงินแข็งขึ้นกว่าเรา
เข่น australia singapore china โดยเฉพาะประเทศที่มีการเกินดุลการค้า
แบบนี้ เงินมันก็จะ ถูก offset ออกไป ยิ่งถ้าดี listed เป็น etf ให้ ตาสีตาสา อย่าผมได้ซื้อด้วย
ส่วน fif etf ที่มีอยู่ size มันิล็กเกินไป ที่จะมี effect ต่อค่า เงิน
ซึ่งค่าเงิน
ขึ้นหรือลงต้องเป็นไปตามกลไกตลาดอยู่แล้ว
แต่ การที่เงินมันท่วมเข้า มามันเกิด volatility
เราจึงต้องสร้าง stability มาลด volatiltity
ซึ่งวิธี มันก็มี หลายวิธี เหมือนยามี หลายตัว แล้ว แต่หมอ จะ เลือกใช้ตัว ไหน
...เหนื่อยแล้ว พอก่อน
ยังคิด อยู่เลยว่า. ลืมไปดี หรือจะเขียนต่อดี
...
ค่าเงินนี้มัน ตลกมาก
น้องผม มาจาก australia เขาบอกว่า
"แตงโม" ครึ่งลูก ราคา 8$ aus
สมัย่กอน เขา ชอบวัด กัน ด้วย bigmac
อย่าง นี้ ชาวสวน ในเมืองจีน ก็ รวยที่สุด ใน โลก เพราะ แตงโม เขา แจก เพื่ือนบ้านได้ฟรี...
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 7

โพสต์

ก็ลอง ความคิดเลย เช่น สมมติ ว่า ทำ qe=15billion usd แต่ไม่ มาท่วมระบบเรา
และเวลาทำ qe ไม่ต้องทำ ทีเดียว 15billion usd
ให้ทะยอย ไปงวดละเดือน เดือนละ ซัก 1.5 billion usd
ทำไม
เพราะต้องการให้ มัน reverse trend
เงินร้อนมัน เข้า มา เพราะเขา คาดหวังว่า เราจะต้อง ขึ้นหรือลดดอกเบี้ย
และ เก็งว่า ค่าเงินจะแข็ง ขึ้นมาก
แต่ พอข่าว ออกไป เขา ก็รู้ว่า มันยากส ขึ้น
เขาก็ ลดน้ำหนัก หรือ ถอนตัวไป
เวลานนั้น เรา ก็ ชะลอ ไม่ พิมพ์ เงิน ซะงั้น
มัน กำลังเป็น สงครามการเงิน รูปแบบใหม่
ที่ ต้องการเครื่ิอง มือ การรับมือ ใหม่ๆ
...
แล้ว หุ้นมันก็คง ไม่เร่งตัวขึ้นต่อด้วย
ภาพประจำตัวสมาชิก
anubist
สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
โพสต์: 1373
ผู้ติดตาม: 7

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 8

โพสต์

ขอแยกเป็น2เรื่อง คือ เรื่องการทำQE และเรื่องSWF

เรื่องQEผมยังย้ำคำเดิมครับว่าทำไม่ได้ และไม่มีใครในโลกนี้ทำได้หรืออย่างน้อยก็ไม่ควรทำ
เพราะคือการ เสกเงินจากอากาศบางๆ ซึ่งมันเป็นไปไม่ได้ในทางปฏิบัติ
คุณไม่สามารถเสกทองคำจากอากาศบางๆได้
การทำQEเหมือนการ"ปล้น"กันซึ่งหน้า เป็นการปล้นคนที่ถือเงินสกุลนั้นๆอยู่
โดนที่คนนั้นไม่มีทางขัดขืน เหมือนการประกาศลดค่าเงินนั่นแหละ
"ความมั่งคั่งรวม"ของเงินสกุลนั้นๆยังมีอยู่เท่าเดิม แต่โดนแชร์มากขึ้น ความมั่งคั่งต่อหน่วยลดลง
แล้วลองคิดดูว่าจู่ๆ คุณจนลงโดยไม่มีเหตุผลสิครับ ไม่รู้สึกว่ามันไม่ยุติธรรมบ้างเหรอ

เรื่องSWF ผมเห็นด้วยที่จะไปลงทุนต่างประเทศที่ค่าเงินมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นเรื่อยๆ
และมีโอกาศเติบโตดี โดยเฉพาะจีน
ส่วนตัวก็อยากลงทุนในจีนอยู่แล้ว แต่ไม่อยากลงทุนผ่านHK$เพราะค่าเงินไม่มีเสถียรภาพ
อยากลงในรูปหยวนจีนมากกว่า

ผมเข้าใจครับว่าอยากให้เงินไหลออกoffsetกันเพื่อผลของค่าเงิน
แต่เราไม่ควรทำให้คนอื่นได้รับผลกระทบโดยไม่จำเป็น
ทุนน้อยและหลุดดอยแล้ว เย้ๆ
aradin
Verified User
โพสต์: 159
ผู้ติดตาม: 0

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 9

โพสต์

ชอบจังเลยครับ..ถกกันแบบนี้ อ่านแล้วได้คิดตามครับ
ภาพประจำตัวสมาชิก
anubist
สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
โพสต์: 1373
ผู้ติดตาม: 7

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 10

โพสต์

เพิ่มเติม
อย่างที่บอกไปก่อนหน้า เพราะความเชื่อถือ/เชื่อมั่นในเงินตราแตกต่างกัน
ฉนั้นผลของการทำQEไทยกับQEมะกันย่อมต่างกัน
การที่มะกันทำQEเพราะไม่มีทางเลือก เนื่องจากประกาศลดค่าเงินไม่ได้
ไม่มีใครยอมให้ค่าเงินมะกันลดอย่างฮวบอาบ แต่ยอมให้ลดอย่างช้าๆผ่านการทำQE
ในขณะเดียวกัน จู่ๆไทยจะลดค่าเงินลง50%คงมีคนสนใจไม่มาก แต่หลังจากนั้นก็ลืม
เนื่องจากเงินบาทไม่มีผลต่อการค้าโลก และคงไม่มีใครเชื่อถือเงินบาท
ยกตัวอย่างเวียดนาม แม้แต่คนเวียดนามเองยังไม่อยากใช้เงินด่ง
เพราะมีการประกาศลดค่าเงินเกือบทุกปีจนคนเวียดนามเอง เวลาขายสินค้ายังขายเป็นUS$
(พี่ผมไปเที่ยวเวียดนามยังจ่ายเป็นUS$อยู่เลย อาจารย์ผมแลกเงินด่งไปพอตอนกลับดันแลกเป็นบาทที่สุวรรณภูมิไม่ได้)

ผมเชื่อมาตลอดว่าสิ่งที่เกิดในเมกาไม่จำเป็นที่ต้องเกิดในไทย
เพราะเงื่อนไข กฏเกณฑ์ ข้อบังคับแตกต่างกัน เช่น
ในเมกามีภาษีcap gain10% แต่ไทยไม่มี
แค่ข้อนี้ก็อาจทำให้บัฟเฟตไม่โ่ด่งดังเช่นทุกวันนี้แล้วครับ
เพราะถ้าบัฟเฟตอยู่ในไทย บัฟเฟตอาจมาเทรดดิ้งแทนการลงทุนแบบเน้นคุณค่าก็ได้
หลายๆครั้ง ดร.นิเวศน์ออกบทความมาโดยยกตัวอย่างจากเมกา
ผมก็ไม่เห็นด้วยเนื่องจากเงื่อนไขที่ต่างกันนี่แหละ

เรื่องเรตติ้งก็เหมือนกัน ผมมองว่าบริษัทจัดอันดับให้เรตติ้งไทยแย่กว่าที่ควรจะเป็น
ในขณะเดียวกันก็ให้เรตติ้งมะกันดีกว่าที่ควรจะเป็น
แค่เรื่องหนี้สาธารณะกับแนวโน้วเศรษฐกิจก็เห็นแล้วว่าไทยดีกว่ามะกันมาก

เรื่องเงินร้อน เมื่อมะกันทุ่มเงินร้อนมาบ้านเรา สิ่งที่เราควรทำคือกันเงินร้อนจากมะกัน
ไม่ใช่สร้างเิงินร้อนของเราไปทุ่มที่อื่นต่อ
สงครามค่าเงินควรให้ยักใหญ่เล่นกันเอง เรานั่งดูเฉยๆก็พอ
เราค่อยเป็นตาอยู่ไปชุบมือเปิบที่หลัง

โดยสรุปคือ กฏข้อ3ของเกรแฮม อย่าขาดทุน เดี๋ยวกำไรจะตามมาเอง
ทุนน้อยและหลุดดอยแล้ว เย้ๆ
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 11

โพสต์

re: SWF
มาแปะดู
http://www.swfinstitute.org/fund-rankings/

รูปภาพ

หวังว่า ใน ไม่เกิน 10ปี
เราคงเห็ฯ
"THAILAND MONETARY POLICY INVESTMENT PORTFOLIO"
หรือ
"THAILAND INVESTMENT CORPORATION"

ประเทศที่จะมั่งคั้งได้ ต้อง เป็น net investment
ไม่ใช่ net lender
ยิ่ง กฏของ compound interest (at i=24)
ถ้า ทุก 10 ปี 10เท่า
40ปี 10x10x10x10 ก็หมื่นเท่า เท่านั้นเอง
สิงค์โปร์ เขา มีแค่ 5.31 ล้านคน แต่เขา คิดก้าวหน้า เขาถึง rating AAA

(เราอย่าไปเปรียบกับ ประเทศ ที่เขากำลังพัฒนา ทีหลังเรา ควรเปรียบกับ ประเทศที่เก่งกว่า
ซึ่ง ถ้าประเทศเรา เดิม มัวแต่ ทะเลาะกัน ประเทศที่เขากำลังพัฒนา ทีหลังเรา วันหนึ่ง ก็คงแซง หน้าเราไป
ถ้าเรา เอาแบบ ของ ประเทศที่เก่ง กว่าเรา วันหนึ่ง เรา อาจจะ ตามเขาทัน หรือ อย่าง น้อย ก็มั่งคั่ง ใน ระดับ เขา)


555
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 12

โพสต์

re: QE
a.เศรษฐกิจไทย เป็น ผู้รับผล
ิb. monetary policy maker เป็น ผู้ ชกมวย
c. เงินร้อน เป็น คู่ต่อสู้
d. พวกเรา คือ กองเชียร์ ข้างเวที

good reading on QE/thailand
http://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPu ... _04_09.pdf



ปํญหาคือ
คู่ต่อสู้ เขารู้ ทางมวย เรา
คือ จะทำ 3 ทาง คือ (ไม่ยืนยันว่าถูกต้อง)
1. เอาเงินท่วม ตลาด หลักทรัพย์ ให้ ขึ้นไปเกินมูลค่า มากกๆ
ถ้าไม่ มีมาตรการ อะไร ออกมา เขา ก็ แค่ ขาย ทำกำไร
หรือ แย่ กว่านั้น short ลงมาแรง เอากำไร อีกต่อ
2. เอาเงินท่วม ตลาด ตราสารหนี้ เพื่อเก็งกำไร ว่า monetary policy จะต้อง หยุด
ความร้อน ของตลาดด้วย การ ขึ้น ดบ.
3. ปั่นป่วน ตลาด FX ให้ค่า เงินสูงต่ำ เกิน จริง เพื่อยุให้ monetary policy ออกมาตรการ เช่น ขึ้น ดบ.
หรือ แทรงแซง ค่า เงิน
(ซึ่งในอดีต ต้องยอมรับ ว่า มันเคยเกิดแบบนี้ ปี 94-97)

เหมือน คนเป็นหวัด หรือไข้หวัดใหญ่
เรารู้ได้ด้วย อาการ ของมัน
อาการไอจาม อาการน้ำมูกไหล อาการเป็นไข้

"เงินท่วมตลาดหลักทรัพย์" อาจจะเปรียบเป็น อาการไอจาม
"เงินท่วมตลาดตราสารหนี้" อาจจะเปรียบเป็น อาการน้ำมูกไหล
"ปั่นป่วน ตลาด FX" อาจจะเปรียบเป็น อาการเป็นไข้

ในสถานะการณ์ ปกติ คนเป็นหวัด ไป หาหมอ หมอก็อาจให้ยาธรรมดา หรือให้พักมากๆ อาทิตย์ นึงก็จะหาย
แต่ ถ้า ใน สถานะการณ์ มี ไข้หวัดใหญ่ สายพันธ์ใหม่ 2009 ระบาด
ถ้าคนไข้ มาอาการ ครบทั้ง สามอย่าง (ยิ่งถ้ามีไข้สูง) หมออาจจะ ให้ฉีดยา ยาต้านไวรัสโอเซลทามีเวียร์ ก่อนเลยก็ได้
ซึ่ง ยานี้ ตอน ออกมาใหม่ คน อาจจะกลัว ก็ได้ แต่ พอ มันใช้กัน ทั่วโลก เขา ก็ ok กันไปเอง
ผมจึง ไม่ คิด ว่า QE ปัจจุบัน จะเป็น แบบนี้ ไม่ เหมือน QE ในอดีต
(เพราะ ตอนนี้ สถานการณ์โลก มันไม่ปกติ
เขากำลังแก้ปัญหา บ้านเขา ด้วย เงิน ดบ. ถูก
แต่เงินนี้ ถูก นักเก็งกำไร เอามา ทำร้าย บ้านเรา ได้)

ซึ่งต่างกับ QE ในอดีต ของ
1. ประเทศเล็กๆ ที่ไม่มีวินัยการเงิน
2. ใช้พร่ำเพรือ โดยไม่จำเป็น
3. ใช้ จนเกิน ขนาด (q4 เมกา ตอนนี้ อาจจะเป็นระดับนั้น)

....
การเตรียมพร้อม
By failing to prepare, you are preparing to fail.
Benjamin Franklin


คือ
พอ เรา เห็น อาการ ทั่งสาม
policy maker ก็ ต้องสั้ง stock ยาต้านไวรัสโอเซลทามีเวียร์ ไว้เลย
ฉะนั้น
ถ้าเราใช้
1. มีวินัยการเงิน ในปริมาณ ไม่เกิน net overflow of inflow
2. ไม่เอามาท่วมระบบในประเทศ
3. ใช้ช้าที่สุด และ ค่อย เป็น ค่อย ไป แค่ต้องการผล(ทางจิตวิทยาการ ลงทุน ต้านผู้โจมตี) ใน การ หยุดโรค ไม่ต้องการให้คนไข้บาดเจ็บ

ทำนองนี้แหละ
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 13

โพสต์

ผมจึง ไม่ คิด ว่า QE ปัจจุบัน จะเป็น แบบนี้ ไม่ เหมือน QE ในอดีต
แก้ไข: ผมจึงคิด ว่า QE ปัจจุบัน จะเป็น แบบนี้ ไม่ เหมือน QE ในอดีต
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 14

โพสต์

more reading
Federal Reserve turns $77 billion profit
source:
http://money.cnn.com/2012/03/20/news/ec ... /index.htm
To put it in perspective, consider this: Last year, the Fed earned more than America's top five largest banks -- JPMorgan Chase (JPM, Fortune 500), Bank of America (BAC, Fortune 500), Citigroup (C, Fortune 500), Wells Fargo (WFC, Fortune 500) and Goldman Sachs (GS, Fortune 500) -- combined.

It's also more than twice what Apple (AAPL, Fortune 500) earned.
คำถามคือ
monetary policy
ไม่มีหน้าที่ ในการทำกำไร ใช่ไหม? แค่ไม่ขาดทุนก็พอ
แต่ ถ้า เกิดมันกำไรขึ้นมา
ก็ไม่เห็น มี ใคร ทำอะไร ในเมื่อ ประเทศเขาได้ ประโยชน์

...โลกกำลังเปลี้ยนไป..
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 15

โพสต์

relate good reading on subject
ทำ link ไว้ให้ เผื่อ ใครยังไม่ได้ไม่ อ่าน ห้องโน้น

http://board.thaivi.org/viewtopic.php?f=7&t=54955
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 16

โพสต์

ไม่เกี่ยวกัน หรอ แต่ ชอบ
If you analyze it I believe the very heart and soul of conservatism is libertarianism. I think conservatism is really a misnomer just as liberalism is a misnomer for the liberals -- if we were back in the days of the Revolution, so-called conservatives today would be the Liberals and the liberals would be the Tories. The basis of conservatism is a desire for less government interference or less centralized authority or more individual freedom and this is a pretty general description also of what libertarianism is.

RONALD REAGAN, Reason Magazine, Jul. 1, 1975
Government is not the solution to our problem. Government is the problem.

RONALD REAGAN, First Inaugural Address, January 20, 1981
Simple fairness dictates that government must not raise taxes on families struggling to pay their bills.

RONALD REAGAN, State of the Union address, Jan. 25, 1984
Even Albert Einstein reportedly needed help on his 1040 form.

RONALD REAGAN
555
always on my mind salute you ลุง แรแกน...
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 17

โพสต์

related: reading

http://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolic ... _12556.pdf
รายงานการประชมคณะกรรมการนโยบายการเงน (ฉบบยอ)
ครงท 1/2556 วนท 9 มกราคม 2556 ธนาคารแหงประเทศไทย
เผยแพร ณ วนท 23 มกราคม 2556
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 18

โพสต์

from Bloomberg
http://www.bloomberg.com/news/2013-01-2 ... onomy.html
Prasarn Says Capital Flows Remain Key Risk for Thailand Economy

Bank of Thailand Governor Prasarn Trairatvorakul said volatile capital flows are the main threat to economic growth this year, after overseas purchases of stocks and bonds pushed the baht to a 17-month high yesterday.

“We have to take care of capital flows, which will be more volatile, and assess the baht’s impact on the real economy,” Prasarn said today in an annual policy address in Bangkok. “We have prepared tools and will use them if needed,” he added, without saying what measures the central bank may employ.

imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 19

โพสต์

from CNBC
Tuesday, 15 Jan 2013

http://www.cnbc.com/id/100379235/Bigges ... _You_Think
"(The Thai central bank's) statement strengthens our view that upward policy normalization is likely at some point this year, possibly in May and July," HSBC's ASEAN economist Su Sian Lim said in a note.
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 20

โพสต์

imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 21

โพสต์

จาก CNBC /REUTER
เยอรมัน เตรียม รับมือ..ด้วย Capital Controls?
http://www.cnbc.com/id/100404641
UPDATE 1-Bundesbank warms to capital controls in currency war debate
Published: Thursday, 24 Jan 2013 | 10:02 AM ET


Policymakers in advanced countries, particularly Japan and the United States, have been pursing aggressive action to reflate their economies. This has the effect of weakening their currencies on foreign exchange markets.

As well as boosting a country's outward trade, it also makes locally-made goods more attractive by pushing up the price of imported goods.

Investment, meanwhile, shifts into higher-yielding currencies, particularly in emerging markets, making them even less competitive.

Combined with the response from Brazil and others, the reflationary moves have raised concerns among some economists that this could trigger a global currency war.



...

Michael Hartnett, chief investment strategist at Bank of America-Merrill Lynch, said in a note on Thursday that a currency war was one of two big threats facing the world's transition to normal growth, interest rates and investment risk appetite. The other was a bond crash.
Bundesbank President Jens Weidmann warned earlier this week the pressure Japan's new government had put on the Bank of Japan endangered the central bank's independence, echoing similar comments by German Finance Minister Wolfgang Schaeuble.

Michael Meister, a senior member of German Chancellor Angela Merkel's party, indicating Germany may retaliate if the Japanese efforts to cheapen the yen continue.

The euro, for example, has risen by about 28 percent against the yen since last July.

While Germany has little reason to feel threatened by Japan given its economic strength and position as one of the world's top exporters, fear that the European Central Bank could be forced to engage in exchange rate targeting could be a driver.

Joerg Asmussen, member of the European Central Bank's executive board, sought to alleviate such concern in an interview with Reuters this week, stressing that for the ECB exchange rates were not a policy target and that the Group of Seven was the appropriate forum for discussion.

Gilles Moec, senior European economist at Deutsche Bank, said it was a "choice of two evils" for the Bundesbank - to accept a stronger central bank involvement or to give up a long-held opposition to capital controls.

"If you have capital controls, it frees monetary policy world wide to focus more on preserving price stability, but at the cost of a potential fragmentation of financial markets and capital mis-allocation," Moec said.
choice of 2 evils
แปลว่า ต้อง เลือก ตัวใดตัวหนึ่ง ระหว่าง ปีศาจ 2 ตัว
แสดงว่า นโยบายไหน ก็ มี ผลเสีย ทั่งนั้น...

ฮ้อ โดน กัล ทั่วโลก..
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 22

โพสต์

จะเห็นว่า
เงินร้อน
มัน ไม่ได้ เข้า มาประเทศ เรา ประเทศ เดียว
ที่ บอก ว่า balace sheet ของ fed
เพิ่ม เป็น 3 เท่า
แสดงว่า ปริมาณ us dollar มันเพิ่ม เป็น เท่านั้น
ตอนนี้ เงิน เยน ก็เพิ่ม เงิน ปอนด์ เงิน ยูโรป
สมมติ เพิ่มหมด

เงินมันไม่ได้ไหลมา ประเทศ เราประเทศ เดียว
ม้นท่วมไป ทั่วโลก
แต่ ถ้า ปริมาณ เงิน เรายัง เท่า เดิม
เขา มา แลก ไหน จะได้ ดบ.
สูงกว่า ยังจะได้ค่า เงิน ที่จะแข็งขึ้นอีก

ดังนั้น สมมติ เรา กระจาย เท่าnet inflow
ออกไป นั้น เราก็ ไป ประเทศ ละ นิด ไม่ได้ ไปท่วม ประเทศ ใด ประเทศ หนึ่ง
แต่ ทำให้เกิด out flow มากขึ้น เป็น แค่ normal diversify investment portfolio
ซึ่งเดิมนี้ outflow ถูกประเทศ เรา ถูกควบคุม เช่น ใครจะเปิด port ไปลงทุน
เมืองนอก อย่างน้อย ต้อง มี 500,000บาท
ซึ่ง ตาสีตาสา port เล็กๆ อย่างผม อาจจะ อยาก ซื้อ หุ้น apple หุ้น bmw หุ้น thaibev
แต่ทำไม่ได้เพราะเงินน้อย outflow เราก็เลย very limit.
อีก อย่างมัน ยุ่งยากด้วย ไหน ภาษี ก็ไม่ เหมือนกัน
ไหนค่า คอมมิชชั่น สูงกว่า อีก
แต่ถ้่า ทำให้ มันง่าย โดยเป็น กองทุน size ใหญ่ มีความมันคง มี econ of scale เป็น etf fund
เป็นทางเลือก ยิ่งมี government sporsored ด้วย น่าจะดี

555

...
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 23

โพสต์

related: infographics
http://demonocracy.info/infographics/us ... -2013.html

ดู รูป แล้ว อาจ จะไม่สงสัย
ว่า ทำไม เมื่อ อาทิตย์ ก่อน เยอรมัน
เริ่ม ย้าย ทอง กลับ ประเทศ
http://www.upi.com/Business_News/2013/0 ... 358808059/


:ohno:
pakhakorn
สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
โพสต์: 957
ผู้ติดตาม: 0

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 24

โพสต์

สมกับหัวกระทู้จริงๆ " ความคิด "

ชอบมาก ทุกๆอย่างก็เริ่มต้นที่ "ความคิด" น่าติดตาม ครับ
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 25

โพสต์

ช่วง นี้ เป็น ช่วง ผู้นำ ความคิด ของ โลก ไปที่ davos
https://twitter.com/davos

รวมถึง soros
ลองอ่าน
สัมภาษณ์ มุนมอง soros ให้ สัมภาษ กับ CNBC และ Boomberg

1. CNBC
http://www.cnbc.com/id/100401701

He also said there could be a potential currency war brewing. "The rest of the world follows a different recipe from the Germans," Soros said. "Germans believe in austerity and the rest of the world believes in quantitative easing, throwing more and more money at the crisis. And actually that works, in the sense that it avoids a depression."

Soros said that Japan has now switched to more quantitative easing, which is bringing down the value of the yen, whereas the euro is more likely to appreciate since the Eurozone doesn't engage in quantitative easing, Soros said.

"That could push Germany into a potential recession or a slowdown," he said.

(austerity=Austerity measures generally refer to the measures taken by governments to reduce expenditures in an attempt to shrink their growing budget deficits.
Read more: http://www.investopedia.com/terms/a/aus ... z2J8iRiYY2)


2. boomberg
http://www.bloomberg.com/news/2013-01-2 ... ad-2-.html
Soros, reiterating his view that austerity is the wrong policy at this time, said the German insistence on tight fiscal and monetary policies means the euro will appreciate as other countries pursue more expansive policies, a situation that may lead to a currency war.


...



The momentum is for the “euro to rise and yen to fall,” Soros said. “I generally don’t know how far things go but I can see which way they are going.”

Soros said countries can only grow their way out of excessive debt and should avoid policies that lead to contractions. The U.S., the world’s largest economy, has “pretty good underlying dynamics,” he said.
Soros Fortune

“If the fiscal cliff and those issues are resolved, and the U.S. economy picks up, I think interest rates are likely to rise,” he said.
ของ boomberg มี เสียง + video สด
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 26

โพสต์

http://bloom.bg/WqHmgy

จาก video นาที 12.45
"We are far from equilibrium territory..
We are very far from stability..
I do expect ..quite UNEXPECTED move of volatility
first in the exchange rate
secondly in the interest rate


http://www.bloomberg.com/news/2013-01-2 ... ad-2-.html

ส่วน นาที 3.55
"This year is much greater turbulent on the exchange rate front because.."
ถึงเดิม japan policy แบบ ยุโรปECB
แล้ว พรรคปัจจุบันที่ ชนะเลือกตั้ง ใหม่ ได้ attack that policy และ เกิด U-Turn in japan
โดย depress the Yen against the dollar and even more against the euro 15% or more

...
imerlot
Verified User
โพสต์: 2697
ผู้ติดตาม: 13

Re: ความคิด

โพสต์ที่ 27

โพสต์

http://www.forbes.com/sites/louiswoodhi ... centers/2/




related topic
ผู้เขียนคมมากครับ
โพสต์โพสต์