Option ของผู้บริหาร จากมุมมองของบัฟเฟ็ต

การลงทุนแบบเน้นคุณค่า ลงทุนหุ้น VI เน้นที่ปัจจัยพื้นฐานเป็นหลัก

โพสต์ โพสต์
ภาพประจำตัวสมาชิก
NinjaTurtle
Verified User
โพสต์: 506
ผู้ติดตาม: 0

Option ของผู้บริหาร จากมุมมองของบัฟเฟ็ต

โพสต์ที่ 1

โพสต์

From Berkshin Hartherway 2005 Annual Report

The P&G-Gillette merger, closing in the fourth quarter of 2005, required Berkshire to record a
$5.0 billion pre-tax capital gain. This bookkeeping entry, dictated by GAAP, is meaningless from an
economic standpoint, and you should ignore it when you are evaluating Berkshires 2005 earnings. We
didnt intend to sell our Gillette shares before the merger; we dont intend to sell our P&G shares now; and
we incurred no tax when the merger took place.

Its hard to overemphasize the importance of who is CEO of a company. Before Jim Kilts arrived
at Gillette in 2001, the company was struggling, having particularly suffered from capital-allocation
blunders. In the major example, Gillettes acquisition of Duracell cost Gillette shareholders billions of
dollars, a loss never made visible by conventional accounting. Quite simply, what Gillette received in
business value in this acquisition was not equivalent to what it gave up. (Amazingly, this most
fundamental of yardsticks is almost always ignored by both managements and their investment bankers
when acquisitions are under discussion.)

Upon taking office at Gillette, Jim quickly instilled fiscal discipline, tightened operations and
energized marketing, moves that dramatically increased the intrinsic value of the company. Gillettes
merger with P&G then expanded the potential of both companies. For his accomplishments, Jim was paid
very well but he earned every penny. (This is no academic evaluation: As a 9.7% owner of Gillette,
Berkshire in effect paid that proportion of his compensation.) Indeed, its difficult to overpay the truly
extraordinary CEO of a giant enterprise. But this species is rare.
Too often, executive compensation in the U.S. is ridiculously out of line with performance. That
wont change, moreover, because the deck is stacked against investors when it comes to the CEOs pay.

The upshot is that a mediocre-or-worse CEO aided by his handpicked VP of human relations and a
consultant from the ever-accommodating firm of Ratchet, Ratchet and Bingo all too often receives gobs
of money from an ill-designed compensation arrangement.
Take, for instance, ten year, fixed-price options (and who wouldnt?). If Fred Futile, CEO of
Stagnant, Inc., receives a bundle of these lets say enough to give him an option on 1% of the company
his self-interest is clear: He should skip dividends entirely and instead use all of the companys earnings to
repurchase stock.

Lets assume that under Freds leadership Stagnant lives up to its name. In each of the ten years
after the option grant, it earns $1 billion on $10 billion of net worth, which initially comes to $10 per share
on the 100 million shares then outstanding. Fred eschews dividends and regularly uses all earnings to
repurchase shares. If the stock constantly sells at ten times earnings per share, it will have appreciated
158% by the end of the option period. Thats because repurchases would reduce the number of shares to
38.7 million by that time, and earnings per share would thereby increase to $25.80. Simply by withholding
earnings from owners, Fred gets very rich, making a cool $158 million, despite the business itself
improving not at all. Astonishingly, Fred could have made more than $100 million if Stagnants earnings
had declined by 20% during the ten-year period.

Fred can also get a splendid result for himself by paying no dividends and deploying the earnings
he withholds from shareholders into a variety of disappointing projects and acquisitions. Even if these
initiatives deliver a paltry 5% return, Fred will still make a bundle. Specifically with Stagnants p/e ratio
remaining unchanged at ten Freds option will deliver him $63 million. Meanwhile, his shareholders will
wonder what happened to the alignment of interests that was supposed to occur when Fred was issued
options.

A normal dividend policy, of course one-third of earnings paid out, for example produces
less extreme results but still can provide lush rewards for managers who achieve nothing.
CEOs understand this math and know that every dime paid out in dividends reduces the value of
all outstanding options. Ive never, however, seen this manager-owner conflict referenced in proxy
materials that request approval of a fixed-priced option plan. Though CEOs invariably preach internally
that capital comes at a cost, they somehow forget to tell shareholders that fixed-price options give them
capital that is free.

It doesnt have to be this way: Its childs play for a board to design options that give effect to the
automatic build-up in value that occurs when earnings are retained. But surprise, surprise options of
that kind are almost never issued. Indeed, the very thought of options with strike prices that are adjusted
for retained earnings seems foreign to compensation experts, who are nevertheless encyclopedic about
every management-friendly plan that exists. (Whose bread I eat, his song I sing.)
Getting fired can produce a particularly bountiful payday for a CEO. Indeed, he can earn more
in that single day, while cleaning out his desk, than an American worker earns in a lifetime of cleaning
toilets. Forget the old maxim about nothing succeeding like success: Today, in the executive suite, the alltoo-
prevalent rule is that nothing succeeds like failure.

Huge severance payments, lavish perks and outsized payments for ho-hum performance often
occur because comp committees have become slaves to comparative data. The drill is simple: Three or so
directors not chosen by chance are bombarded for a few hours before a board meeting with pay
statistics that perpetually ratchet upwards. Additionally, the committee is told about new perks that other
managers are receiving. In this manner, outlandish goodies are showered upon CEOs simply because of
a corporate version of the argument we all used when children: But, Mom, all the other kids have one.
When comp committees follow this logic, yesterdays most egregious excess becomes todays baseline.

Comp committees should adopt the attitude of Hank Greenberg, the Detroit slugger and a boyhood
hero of mine. Hanks son, Steve, at one time was a players agent. Representing an outfielder in
negotiations with a major league club, Steve sounded out his dad about the size of the signing bonus he
should ask for. Hank, a true pay-for-performance guy, got straight to the point, What did he hit last year?
When Steve answered .246, Hanks comeback was immediate: Ask for a uniform.
(Let me pause for a brief confession: In criticizing comp committee behavior, I dont speak as a
true insider. Though I have served as a director of twenty public companies, only one CEO has put me on
his comp committee. Hmmmm . . .)



เอาไว้ว่างๆก่อนจะมาแปลให้
ภาพประจำตัวสมาชิก
NinjaTurtle
Verified User
โพสต์: 506
ผู้ติดตาม: 0

Option ของผู้บริหาร จากมุมมองของบัฟเฟ็ต

โพสต์ที่ 2

โพสต์

หลังจากการควบรวมกิจการระหว่างบริษัท P&G กับยิลเลทล์เสร็จในไตรมาสที่สี่ของปี2005 ทำให้เบิร์กไชน์ต้องบันทึกส่วนเกินทุน(กำไร)ก่อนหักภาษี ห้าพันล้านเหรียญ  เรื่องการลงบัญชีที่บังคับโดย GAAP นี้ไม่มีความหมายในมุมมองของเศรษฐกิจ และคุณก็ไม่ควรไปสนใจด้วยเมื่อประเมิณรายได้ของเบิร์กไชน์ในปี2005 เราไม่เคยตั้งใจจะขายหุ้นของยิลเลทล์ก่อนที่จะมีการควบรวม และเราก็จะไม่ขายหุ้นของ P&G ในตอนนี้ และก็ไม่ต้องจ่ายภาษีเมื่อมีการควบรวมกิจการ


เรื่องสำคัญที่ไม่ได้เน้นจนเกินเลยก็คือความสำคัญคนที่เป็นผู้บริหารของบริษัท ก่อนที่จิม เคลทส์จะมาอยู่กับยิลเลทล์ตอนปี2001 บริษัทกำลังลำบากด้วยภาระจากการใช้เงินทุนผิดพลาด ตัวอย่างหลักเลยก็เรื่องของการไปซื้อกิจการของ Duracell ที่ทำให้ผูถือหุ้นเสียเงินไปเป็นพันล้าน เป็นการขาดทุนที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยการดูจากบัญชีแบบทั่วๆไป พูดอย่างง่ายๆคือสิ่งที่ยิลเลทล์ได้รับจากการซื้อกิจการนี้ไม่ได้เท่ากับสิ่งที่บริษัทจ่ายเลย (เรื่องเหลือเชื่อก็คือวิธีการวัดมูลค่าพื้นฐานแค่นี้ถูกละเลยทั้งผู้บริหารและที่ปรึกษาการลงทุนตอนที่คุยกันเรื่องการซื้อกิจการ)

ตอนที่มาร่วมงานกับยิลเลทล์แล้ว จิมก็จัดการควบคุมการเงิน เพิ่มประสิทธิภาพการปฎิบัติงาน และเพิ่มพลังทางการตลาด ทำให้มูลค่าที่แท้จริงของบณิษัทเพิ่มขึ้น การที่ยิลเลทล์ควบรวมกับ P&G เป็นการเพิ่มโอกาศให้กับทั้งสองบริษัท ความสำเร็จของจิมทำให้เขาได้รับผลตอบแทนที่ดีมากๆ แต่เขาก็เหมาสมที่จะได้รับมันทุกบาททุกสตางค์(อันนี้ไม่ต้องวัดด้วยอะไรยุ่งยาก:การเป็นเจ้าของยิลเลทล์ 9.7% เบิร์กไชน์ก็มีส่วนในการจ่ายผลตอบแทนให้เขาด้วย) อันที่จริงแล้วมันเป็นการยากมากที่จะจ่ายแพงเกินไปให้กับผู้บริหารที่ยอดเยี่ยมของบริษัทยักษ์ใหญ่แบบนี้ แต่ผู้บริหารพันธ์นี้ก็หายากมาก

โดยส่วนมากแล้วผลตอบแทนของผู้บริหารในสหรํฐมักจะไปคนละทิศทางกับผลงาน แล้วนั่นก็ไม่สามารถเปลี่ยนได้ง่ายๆด้วย เพราะผู้ถือหุ้นมักจะเสียเปรียบเรื่องการจ่ายผลตอบแทนให้ผู้บริหาร  ลงท้ายแล้วผู้บริหารห่วยหรือที่ไม่เอาไหน ที่ได้รับการช่วยเหลือจากรองประธานฝ่ายบุคคลและที่ปรึกษาตามใจท่านจากบริษัทปรับนิดไขหน่อยก็รวย มักจะได้เงินไปเป็นกอบเป็นกำจากข้อตกลงการจ่ายผลตอบแทนที่ออกแบบมาได้ยังไงไม่รู้
ยกตัวอย่างเช่น สิทธในการซื้อหุ้นสามัญที่ราคาคงที่ตลอด10ปี(ใครมันจะไม่เอา) ถ้านายเฟรด ไร้ผล ประธานบริหารของบริษัทติดขัดไปหมด มหาชนจำกัด ได้รับสิทธินี้เยอะขนาดว่าได้เป็นผู้ถือหุ้นถึง 1%ของบริษัท ถ้าอย่างนั้นแล้วเพื่อหาผลประโยชน์เข้าตัวที่ชัดเจนเลย ก็คือหาทางงดจ่ายปันผลทั้งหมดแล้วก็เอาเงินของบริษัทไปซื้อหุ้นคืน

สมมุติว่าภายใต้การบริหารของนายเฟรด บริษัทติดขัดไปหมดทำผลตอบแทนได้ตามชื่อคือ หนึ่งพันล้านบาทจากมูลค่าของบริษัทที่หนึ่งหมื่นล้านบาท และก็เป็นกำไรต่อหุ้นที่10บาทจากจำนวน100ล้านหุ้น  นายเฟรดงดจ่ายปันผลและก็ใช้กำไรทั้งหมดไปซื้อหุ้นคืนอย่างสม่ำเสมอ สมมุติถ้าหุ้นบริษัทมีราคาคงที่ ที่ราคาสิบเท่าของกำไร (PE 10) หุ้นจะมีมูลค่าเพิ่มขึ้น 158% เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาใช้สิทธิ เพราะการซื้อคืนหุ้นจะลดจำนวนหุ้นลงเหลือ 38.7 ล้านหุ้นเมื่อถึงสิ้นสุดระยะเวลาใช้สิทธิ กำไรต่อหุ้นก็จะเพิ่มขึ้นเป็น25.80บาท  เพียงแค่เก็บกำไรเอาไว้ไม่ส่งต่อให้ผู้ถือหุ้นนายเฟรดก็ร่ำรวยได้ถึง 158ล้านบาทถึงแม้ว่าธุรกิจจะไม่มีอะไรดีขึ้นเลย สุดยอดไปกว่านั้นนายเฟรดอาจจะยังได้ถึง 100ล้านถึงแม้ว่าธุรกิจของบริษัทติดขัดไปหมด จะถดถอยไปถึง 20% ในช่วงระยะเวลา10ปี


หรืออีกทางหนึ่งนายเฟรดก็ยังคงได้ผลตอบแทนที่ยอดเยี่ยมด้วยการไม่จ่ายปันผลและนำกำไรที่เก็บไว้จากผู้ถือหุ้นไปลงทุนในโครงการหรือซื้อกิจการ ที่ถึงแม้จะให้ผลตอบแทนต่ำเพียง 5% นายเฟรดก็ยังคงได้อยู่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าราคาหุ้นของบริษัทติดขัดไปหมดคงที่ที่ PE10  ESOP ของเขาก็ยังทำรายได้ให้ถึง 63 ล้าน ในขณะที่ผู้ถือหุ้นสงสัยว่าเกิดอะไรขึ้นกับแรงจูงใจในการทำงานเมื่อตอนที่นายเฟรดได้รับสิทธในการซื้อหุ้นสามัญ



การจ่ายเงินปันผลตามปรกติ ยกตัวอย่างเช่นที่หนึ่งในสามของกำไรทำให้ได้ผลลัพธ์ที่ไม่ร้ายแรงเกินไปนัก แต่ก็ยังคงให้ผลตอบแทนหรูทีเดียวสำหรับผู้บริหารที่ไม่ได้ทำอะไรตามเป้าเลย   ผู้บริหารส่วนใหญ่เข้าใจโจทย์นี้และรู้ว่าทุกสตางค์ที่จ่ายเป็นเงินปันผล จะลดมูลค่าของสิทธในการซื้อหุ้นสามัญ ผมยังไม่เคยเห็นเรื่องของผลประโยชน์ขัดแย้งนี้มีการกล่าวถึงในตอนขออนุมัติเรื่องสิทธในการซื้อหุ้นสามัญเลย  ถึงผู้บริหารจะบอกพนักงานภายในบริษัทว่าเงินลงทุนมีต้นทุนนะ แต่พวกเขากลับลืมบอกผู้ถือหุ้นว่าการให้สิทธในการซื้อหุ้นสามัญที่ราคาคงที่ก็เหมือนกับการให้เงินเขาฟรีๆ


การจ่ายผลตอบแทนที่หรูหรามากเกิน สิทธิพิเศษเยอะแยะจากผลงานงั้นๆ มักเป็นผลมาจาการที่คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทนเป็นทาสจากการเปรียบเทียบข้อมูลจากที่อื่น วิธีที่ทำกันง่ายๆคือเลือกกรรมการสักสามคน(ที่ถูกเลือกอย่างจงใจ) จะถูกยัดเยียดก่อนการประชุมคณะกรรมการสักสองสามชั่วโมง ด้วยเรื่องสถิติการจ่ายเงินที่ถูกปรับขึ้นอย่างสูง นอกจากนี้คณะกรรมการยังได้รับข้อมูลว่าผู้บริหารที่อื่นได้ไปเท่าไหร่ สิ่งดีๆที่ผู้บริหารได้รับก็มาด้วยประเด็นเดียวกับเด็กๆ เวลาอยากได้อะไรก็จะบอกว่า แม่ครับ คนอื่นเขาก็มีกันทั้งนั้น เมื่อคณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทนคิดตามหลักแบบนี้ ไอ้การจ่ายเวอร์ๆเมื่อก่อนก็เลยกลายเป็นมาตรฐานของตอนนี้ไป

คณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทนควรจะใช้มาตราฐานเดียวกับของฮี่โร่ผม นักเบสบอลตัวรับปีกนอกของดีทร้อยส์ แฮ้ง กรีนเบิร์ก  ตอนที่ลูกชายของแฮ้ง สตีฟที่ทำงานเป็นตัวแทนนักกีฬา กำลังเจรจาต่อรองกับสโมสรให้กับนักกีฬาตัวรับปีกนอกของเขา เลยลองถามพ่อของเขาดูว่าควรจะเรียกโบนัสในการเซ็นสัณญาเท่าไหร่ดี แฮ้งเป็นคนที่เชื่อเรื่องการจ่ายตามผลงานถามว่า สถิติการตีลูกเขาเป็นเท่าไหร่  พอสตีฟบอกว่า .246 แฮ้งก้ตอบกลับมาทันทีว่า ขอแค่ชุดยุนิฟอร์มก็พอแล้ว (ผมขอสารภาพนิดนึงก่อนว่า การวิจารณเรื่องคณะกรรมการพิจารณาผลตอบแทนนี้ไม่ได้ทำจากประสบการณ์ตรงสักเท่าไหร่ เพราะถึงผมจะเคยเป็นคณะกรรมการถึง 20 บริษัท มีผู้บริหารเพียงคนที่ที่ตั้งผมเป็นกรรมการพิจารณาผลตอบแทน อืมมมมม......)

/// มีอะไรติชมแก้ไขบอกด้วยนะครับ :)
ภาพประจำตัวสมาชิก
yoyo
สมาชิกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า
โพสต์: 4833
ผู้ติดตาม: 171

Option ของผู้บริหาร จากมุมมองของบัฟเฟ็ต

โพสต์ที่ 3

โพสต์

ขอบคุณท่านนินจาเต่ามากๆครับ
ไม่เคยคิดถึงมาก่อนเลยว่าการออก esop ทำให้เกิด conflict ในแง่ของการจ่ายเงินปันผล  :?
การลงทุนที่มีค่าที่สุด คือการลงทุนในความรู้
http://www.yoyoway.com
ภาพประจำตัวสมาชิก
NinjaTurtle
Verified User
โพสต์: 506
ผู้ติดตาม: 0

Option ของผู้บริหาร จากมุมมองของบัฟเฟ็ต

โพสต์ที่ 4

โพสต์

จากที่อ่านตรงนี้ผมเข้าใจว่าสิ่งที่บัฟเฟ็ตพยายามจะบอกก็คือ การจ่ายผลตอบแทนควรที่จะแปรผันกับผลงาน

อันที่จริงถ้าจำไม่ผิด ผมเคยอ่านเจอบัฟเฟ็ตบอกว่า ถ้าอยากให้ผู้บริหารมีหุ้นก็ควรจ่ายโบนัสบันถึงเป็นค่าใช้จ่ายซะและให้ผู้บริหารไปซื้อหุ้นเอง

ไม่รู้คนถือ WG iLink คิดไงกันบ้าง :twisted:
aiko
Verified User
โพสต์: 87
ผู้ติดตาม: 0

Option ของผู้บริหาร จากมุมมองของบัฟเฟ็ต

โพสต์ที่ 5

โพสต์

NinjaTurtle เขียน:จากที่อ่านตรงนี้ผมเข้าใจว่าสิ่งที่บัฟเฟ็ตพยายามจะบอกก็คือ การจ่ายผลตอบแทนควรที่จะแปรผันกับผลงาน

อันที่จริงถ้าจำไม่ผิด ผมเคยอ่านเจอบัฟเฟ็ตบอกว่า ถ้าอยากให้ผู้บริหารมีหุ้นก็ควรจ่ายโบนัสบันถึงเป็นค่าใช้จ่ายซะและให้ผู้บริหารไปซื้อหุ้นเอง

ไม่รู้คนถือ WG iLink คิดไงกันบ้าง :twisted:
ถ้าอยากให้ผู้บริหารมีหุ้นก็ควรจ่ายโบนัสบันถึงเป็นค่าใช้จ่ายซะและให้ผู้บริหารไปซื้อหุ้นเอง

ผู้บริหารควรมีธรรมาภิบาล
ภาพประจำตัวสมาชิก
metro
Verified User
โพสต์: 861
ผู้ติดตาม: 0

Option ของผู้บริหาร จากมุมมองของบัฟเฟ็ต

โพสต์ที่ 6

โพสต์

ตามที่ท่านปู่วอเรนพูด ถ้าผมเข้าใจไม่ผิด คือ การจ่ายโบนัส ตามผลประกอบการที่ออกมาดีขึ้นใช่มั้ยครับ

ถ้าใช่ ผมว่าน่าจะเป็นทางเลือกที่ดี และ จูงใจให้ผู้บริการและกรรมการตั้งใจมากกว่าการออก ESOP เพื่อให้ผู้บริหารและกรรมการมานั่งตามราคาหุ้นนะครับ

ชอบไอเดียนี้จังครับ ผู้ถือหุ้นไม่เสียเปรียบ และ ผู้บริหารก็ตั้งใจทำงานมากขึ้นเพื่อโบนัสที่มากขึ้นตามด้วย ไม่ต้องมาเสียเวลาลุ้นราคาหุ้นให้เสียสมาธิการทำงานด้วย ท่านปู่วอเรนนี่มองอะไรง่ายๆแต่ได้ใจความดีจริงๆครับ  :D
โพสต์โพสต์