พบ 11 ผลลัพธ์

ผู้ติดตาม: 365

มุมมองการฟื้นตัวของกลุ่มโรงแรม โดย เซียนมี่

มุมมองการฟื้นตัวของกลุ่มธุรกิจโรงแรม โดย เซียนมี่ ทิวา ชินดาพงศ์ 🛫🛫🛫🛫🛫🛫🛫🛫🛫🛫🛫🛫 ========================= เป็นประจำทุกสัปดาห์ที่มีความเคลื่อนไหวอะไรในตลาดหุ้นในสัปดาห์นั้น สิ่งที่แอดมินทำเป็นประจำ คือ การขอความเห็น “เซียนมี่ ทิวา ชินธาดาพงศ์” ในกลุ่มนั้นๆเกี่ยวกับการลงทุนว่ามีประเด็นอะไรใหม่ๆบ้างที่มี...
ผู้ติดตาม: 365

ลงทุนเดือนละ 10,000 บาท .. ก็มีสิบล้านได้

ออมเงินเดือนละ 10,000 บาท ระยะเวลา 153 เดือน ก็มีเงิน 10,000,000 บาท ได้ 💰💰💰💰💰💰💰💰💰 =================== ความฝันของมนุษย์เงินเดือนหลายๆคน คือ การมีเงินเก็บ 10 ล้านบาทในสมุดบัญชี ก็น่าจะเพียงพอแล้วกับการที่เราจะมีชีวิตอยู่แบบสุขสบายและมีความสุขกับครอบครัวในบั้นปลายชีวิต แต่ในชีวิตจริงกว่าจะไปถึงจุดหมาย...
ผู้ติดตาม: 365

เม่ากลับใจ สัมภาษณ์ อาจารย์มี่ (ตอนที่ 3: การลงทุนหุ้นกลุ่มโรงพยาบาล)

เม่ากลับใจ สัมภาษณ์ อาจารย์มี่ ทิวา ชินธาดาพงศ์ ตอนที่ 3: การลงทุนหุ้นกลุ่มโรงพยาบาล “การคาดการณ์อุตสาหกรรมที่ไม่ได้รับผลกระทบหรือ เติบโตได้ในสภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว” เมื่อถามพี่มี่เกี่ยวกับมุมมองเศรษฐกิจในประเทศไทยในช่วง 1-2 ปีข้างหน้าก็ได้ภาพที่ค่อนข้างตรงกับมุมมองของคนส่วนใหญ่ คือ เศรษฐกิจข้างหน้...
ผู้ติดตาม: 365

เม่ากลับใจ สัมภาษณ์ อาจารย์มี่ (ตอนที่ 2: การลงทุนหุ้นกลุ่มอสังหาริมทรัพย์)

เม่ากลับใจ สัมภาษณ์ อาจารย์มี่ ทิวา ชินธาดาพงศ์ (ตอนที่ 2) ตอนที่ 2: การลงทุนหุ้นกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ “มุมมองการลงทุนต่อหุ้นกลุ่มอสังหาริมทรัพย์ และ ปัจจัยบวกจาก Covid-19” ในช่วงที่ผ่านมาหุ้นกลุ่มพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เรียกได้ว่าเป็นหุ้นที่ให้ผลตอบแทนที่แพ้ตลาดมาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน ใครที่ลงทุนหุ้น...
ผู้ติดตาม: 365

เม่ากลับใจ สัมภาษณ์ อาจารย์มี่ (ตอนที่ 1: การลงทุนในหุ้นกลุ่ม Commodity)

เม่ากลับใจ สัมภาษณ์ อาจารย์มี่ ทิวา ชินธาดาพงศ์ ตอนที่ 1: การลงทุนในหุ้นกลุ่ม Commodity “ประสบการณ์การลงทุนในหุ้นกลุ่ม commodity ในอดีต และ หุ้น commodity ที่น่าติดตาม” ในอดีตพี่มี่เคยลงทุนในกลุ่ม commodity หลายครั้ง และ ก็ประสบความสำเร็จในหลายๆครั้ง ตัวอย่างในการลงทุนที่ประสบความสำเร็จในช่วงที่ผ่าน...
ผู้ติดตาม: 365

Re: การวิเคราะห์ Five Force Model โดยเพจ “เม่ากลับใจ”

การวิเคราะห์ Five Force Analysis (PART 6/6) อำนาจการต่อรองของลูกค้า Bargaining Power of Customers ในการทำธุรกิจผู้ขายเป็นคนตั้งราคา ผู้ซื้อเป็นผู้เลือกความคุ้มค่าที่จะจ่ายเงิน ดังนั้นการทำธุรกิจหลักสำคัญที่สุด คือ ลูกค้าเลือกที่จะจ่ายเงินเพื่อซื้อสินค้าหรือบริการในบริษัทนั้นๆหรือไม่ ลูกค้ามีอำนาจในก...
ผู้ติดตาม: 365

Re: การวิเคราะห์ Five Force Model โดยเพจ “เม่ากลับใจ”

การวิเคราะห์ Five Force Model (PART 5/6) อำนาจการต่อรองของ Supplier Bargaining Power of Suppliers Supplier คือ ผู้ที่นำสินค้าหรือวัตถุดิบมาขายให้กับบริษัท โดยปกติแล้วอำนาจการต่อรองของ Supplier นั้นจะมีค่อนข้างที่จะจำกัด เพราะ Supplier นั้นก็อยากขายของให้ผู้ซื้อในปริมาณมากๆเมื่อผู้ซื้อต้องการซื้อในปร...
ผู้ติดตาม: 365

Re: การวิเคราะห์ Five Force Model โดยเพจ “เม่ากลับใจ”

การวิเคราะห์ Five Force Model (PART 4/6) สินค้าทดแทน Substitute Product สินค้าทดแทนหมายถึงสินค้าที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงหรือเทียบเท่า สินค้าอย่างใดอย่างหนึ่งซึ่งสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ไม่แตกต่างจากสินค้าชนิดนั้นๆ เช่น เนื้อหมู เนื้อไก่ เนื้อกุ้ง เป็นวัตถุดิบที่สามารถนำมาทำอาหารได้ หากเนื...
ผู้ติดตาม: 365

Re: การวิเคราะห์ Five Force Model โดยเพจ “เม่ากลับใจ”

การวิเคราะห์ Five Force Model (PART 3/6) แนวโน้มสภาวะอุตสาหกรรม Industry Rivalry “สภาวะอุตสาหกรรม” ปัจจัยนี้เป็นตัวบอกแนวโน้มว่าธุรกิจนั้นจะเป็นอย่างไรโดยการเริ่มมองจากภาพใหญ่ คือ มองจากภาพอุตสาหกรรม การมองบริษัทจากภาคอุตสาหกรรมนั้นก็จะเป็นตัวที่เราสามารถคัดกรองกลุ่มที่น่าสนใจและไม่น่าสนใจ เพื่อที่เ...
ผู้ติดตาม: 365

Re: การวิเคราะห์ Five Force Model โดยเพจ “เม่ากลับใจ”

การวิเคราะห์ Five Force Analysis (PART 2/6) การเข้ามาของผู้เล่นรายใหม่ Threat of New Entrants ในการเข้าสู่ธุรกิจของผู้เล่นรายใหม่ หากในธุรกิจหนึ่งใครๆก็สามารถเข้ามาทำธุรกิจได้ง่าย สภาพการแข่งขันก็จะสูง หากในช่วงปกติ Demand และ Supply นั้นอยู่ในระดับเดียวกันตัวธุรกิจหรืออุตสาหกรรมนั้นๆก็ยังคงสามารถดำ...
ผู้ติดตาม: 365

การวิเคราะห์ Five Force Model โดยเพจ “เม่ากลับใจ”

การวิเคราะห์ Five Force Model (ตอนที่ 1/6) ในการวิเคราะห์หุ้นมีหลายวิธีในการประเมิน ซึ่งโดยมากนักลงทุนจะใช้ PE หรือ PBV ในการประเมินความความถูกแพงของหุ้น แต่การประเมินด้วยตัวเลขเหล่านี้โอกาสผิดพลาดก็มีโอกาสสูงมากครับ เพราะการมองที่ PE หรือ PBV เป็นการคำนวนมูลค่าเหมาะสมในปัจจุบันจากกำไรที่ผ่านมาแล้ว ...